ธรรมะพระวินัยมหาวรรตร ตอน 2 ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 161
หน้าที่ 161 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงการถวายข้าวต้มหรือขนมแก่พระภิกษุและการกำหนดบทบาทในการนิมนต์ โดยละเอียดอธิบายถึงวิธีการที่ทายกสามารถจัดการถวายอาหารและผลกระทบที่มีต่อพระภิกษุอย่างไร แม้จะไม่ถึงภิกษุเหล่านั้นโดยตรงแต่ก็ถือเป็นการเป็นการร่วมกันของทุกๆ คนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้มีการกล่าวถึงคำสอนและเนื้อหาที่เชื่อมโยงกับความหมายของการทำบุญและการแบ่งปันในสังคมพระสงฆ์ ในที่สุดยังรำพึงถึงพระธรรมและจริยธรรมที่ควรรักษาในพระพุทธศาสนาเพื่อประโยชน์และความสุขของส่วนรวม.

หัวข้อประเด็น

-ธรรมะในพระพุทธศาสนา
-พระวินัย
-การถวายอาหารแก่พระภิกษุ
-บทบาทของทายก
-นิมนต์พระภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตอบสนับปาสักท่า ธรรมะพระวินัยมหาวรรตร ตอน 2 - หน้าที่ 386 หรือข้าวต้มหรือขนมที่บนหลายบาตรของภิกษุเหล่าใดมาจากอาสนศาลแล้วนำไปถวาย หรือข้าวต้มหรืออัญพระเดรื่องหลายส่งไป เพื่อภิกษุเหล่าใด ย่อมไม่ถึงกี่ภิกษุเหล่านั้น แต่ภิกษุแม่เหล่าอื่น กับภิกษุที่ได้รับนิมนต์มาก นั่งเต็มกายในเรือนและนอกเรือน, หากทายกกล่าวอย่างนี้ว่า "พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย จะรับนิมนต์ หรือไม่รับนิมนต์ก็ตาม, ข้าวต้มหรือขนมเท้าจะเอามาแล้ว แก่พระผู้เป็นเจ้าหลายใจ, ภิกษุเหล่านี้ จงเป็นของพระผู้เป็นเจ้าทั้งปวงเหล่านั้น" ดังนี้ ย่อถึงทั่วกัน. ฝ่ายภิกษุเหล่าใด ได้ข้าวต้มหรือขนมจากมือพระเดชะ, ย่อมไม่ถึงกี่ภิกษุเหล่านั้น. ถ้ากล่าวว่า "พระผู้เป็นเจ้าหล่าใด ฉันข้าวต้มหรือขนมของข้าเจ้า, ภิกษุเหล่านี้ จงเป็นของพระผู้เป็นเจ้าหล่านั้นจงทั่วกัน" ดังนี้ ย่อถึงทั่วกัน. แต่ในข้าวสวยและควรเดือย ก็เน้นเลย. บทว่า จิเร วา มีความว่า ถ้าทายกเผลอถวายจีรวกภิกษุ ทั้งหลาย ซึ่งตนมนต์ได้จำพรรษาแม้ในกาลก่อน, ให้ภิกษุอื่นแล้ว กล่าวไว้ก่อน ข้าเจ้าได้จากจีรวกพระผู้เป็นเจ้าหล่าใด จีรวกดี เนอนไนผิงและน้อยเป็นฉะดี จงเป็นของพระผู้เป็นเจ้า เหล่านั้น, ทุกอย่างถึงกี่ภิกษุเหล่านั้นเท่านั้น. บทว่า เสนานน วา มีความว่า เมื่อกล่าวว่า "พระผู้ เป็นเจ้าใด อยู่ในที่อยู่หรือในเรือนที่ท่านเข้าร้าง, [๒๖๒] ผู้นั่ง เป็นของพระผู้เป็นเจ้านั้น," ย่อมเป็นของภิกษุอื่นเท่านั้น. บทว่า เศษุวา ว มีความว่า เมื่อกล่าวว่า "พวกข้าพเจ้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More