ความเห็นและการปฏิเสธในพระพุทธศาสนา พระแท้ หน้า 83
หน้าที่ 83 / 371

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการปฏิเสธความจริงในพระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งเน้นการวิเคราะห์วิธีการปฏิเสธที่เกิดจากการกลัวการพูดปด การยึดถือ หรือการถูกซักถาม และอธิบายถึงความเห็นที่ไม่ถูกต้องของครูทั้ง 5 ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงจัดเป็นมิจฉาทิฏฐิ โดยเฉพาะที่ไม่ยืนยันต่อสิ่งใดๆ และชี้ให้เห็นถึงความฉลาดของพระเจ้าอชาตศัตรูที่สามารถสำนึกได้ถึงความผิดในความเชื่อต่างๆ ที่สอนโดยครู.

หัวข้อประเด็น

-การปฏิเสธในพระพุทธศาสนา
-มิจฉาทิฏฐิ
-ความเห็นของครูทั้ง 5
-พระเจ้าอชาตศัตรู
-การสำนึกและความฉลาด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑) เพราะเกรงจะพูดปด จึงต้องปฏิเสธว่า อย่างนี้ก็ไม่ใช่ อย่างนั้นก็ไม่ใช่ ๒) เพราะเกรงจะเป็นการยึดถือ จึงต้องปฏิเสธแบบ ข้อ (๑) ๓) เพราะเกรงจะถูกซักถาม จึงต้องปฏิเสธแบบข้อ (๑) ๔) เพราะโง่เขลา จึงต้องปฏิเสธแบบข้อ (๑) คือไม่ ยอมรับอะไรและไม่ยืนยันอะไรทั้งสิ้น พระพุทธศาสนาเรียกค่า สอนของท่านผู้นี้ว่า “อมราวิกเขปิกาทิฏฐิ” เพราะเหตุนี้ พระเจ้าอชาตศัตรูจึงทรงมีความเห็นว่า ใน บรรดาครูทั้ง 5 นั้น ครูสัญชัยเวลัฏฐบุตรโง่เขลาเบาปัญญาที่สุด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงจัดทิฏฐิหรือความเห็นของครู ทั้ง 5 นี้ว่าเป็น “มิจฉาทิฏฐิ” ทั้งสิ้น การปฏิบัติตนของพระเจ้าอชาตศัตรูต่อเจ้าลัทธิต่าง ๆ จากเรื่องราวที่ผ่านมา อาจกล่าวได้ว่าพระเจ้าอชาตศัตรู ทรงปรีชาชาญฉลาดมิใช่น้อยเลย เพราะทรงสามารถสำนึกผิด Co
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More