Understanding Tibetan Medicine and Monastic Discipline พระแท้ หน้า 173
หน้าที่ 173 / 371

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับยาสมุนไพรและการแพทย์ทิเบต รวมถึงคำอธิบายเกี่ยวกับ 'ติรัจฉานวิชา' ซึ่งหมายถึงวิชาที่ขัดขวางหรือไม่เข้ากับความเป็นพระ นอกจากนี้ยังพูดถึงความสำคัญของศีลสามประการในชีวิตของภิกษุและผลอานิสงส์ที่ได้รับจากการปฏิบัติตาม. คำว่า 'สัตว์ดิรัจฉาน' ใช้เรียกสัตว์อื่นที่เคลื่อนไหวในลักษณะเฉพาะตัว, แสดงถึงการเคลื่อนไหวของมนุษย์ที่แตกต่างจากสัตว์อื่น.

หัวข้อประเด็น

-การแพทย์ทิเบต
-ติรัจฉานวิชา
-ศีลของภิกษุ
-สัตว์ดิรัจฉาน
-การรักษาทางการแพทย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

lo ไฟ ปรุงยาสำรอก ยาถ่าย ยาแก้ปวดศีรษะ หุงน้ำมันหยอดหู ปรุงยาตา ยานัตถุ์ ยาทากัด ยาทาสมาน ป้ายยาตา ทำการ ผ่าตัด รักษาเด็ก ใส่ยา ชะแผล เป็นต้น ในที่นี้มีคำว่า ติรัจฉานวิชา” คำว่า “ติรัจฉาน” แปลว่า “ไปขวาง” ดังนั้น “ติรัจฉานวิชา” จึงมีความหมายว่า วิชาเหล่านี้ “ขวาง” หรือ “ไม่เข้ากับความเป็นสมณะ” มิได้หมายความว่า เป็นวิชาของสัตว์ดิรัจฉาน” ดังนั้นถ้อยคำที่พระไม่ควรพูด จึง จัดเป็นติรัจฉานกถา คือ ถ้อยคำที่ขวางหรือขัดกับความเป็นพระ วิชาที่พระไม่ควรเกี่ยวข้อง จึงจัดเป็นติรัจฉานวิชา คือ วิชาที่ ขวางหรือขัดกับความเป็นพระ ศีลว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสรุปเรื่องความถึงพร้อมด้วย “ภิกษุใด เป็นผู้ปฏิบัติสมบูรณ์ด้วยศีลทั้ง ๓ อย่าง คือ จุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีลนี้แล้ว ย่อมได้รับอานิสงส์มากมาย ที่สําคัญคือ เป็นผู้ที่ พระไตรปิฎกฉบับประชาชน หน้า ๒๙๑ ส่วนสาเหตุที่เราเรียกสัตว์อื่นนอกจากมนุษย์ว่า "สัตว์ดิรัจฉาน" ก็เพราะสัตว์เหล่านั้นเคลื่อนไหว โดยมีลำตัวไปตามขวาง มีแต่มนุษย์เท่านั้นที่เคลื่อนไหวด้วยกายที่ตั้งตรง ๑๗๑
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More