การศึกษาและปฏิบัติธรรมของพระมงคลเทพมุนี หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 28
หน้าที่ 28 / 278

สรุปเนื้อหา

พระสงฆ์กลุ่มใหญ่ไม่เห็นด้วยกับการสังคายานี้ แต่การศึกษาเกี่ยวกับธรรมกายจากพระมงคลเทพมุนี (สด จนทาสโล) ที่ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญและการบรรลธรรมยังคงมีความสำคัญ การวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างในคำสอนและวิธีปฏิบัติที่เป็นระเบียบและค่อยเป็นค่อยไป การเปรียบเทียบคัมภีร์ต่าง ๆ กับงานของพระมงคลเทพมุนีแสดงถึงความเชื่อมโยงและความเข้าใจในหลักธรรมที่สืบทอดมา ซึ่งทำให้เห็นการเรียนรู้และการดำรงอยู่ของธรรมกายอย่างลึกซึ้ง

หัวข้อประเด็น

-การแตกนิกายในพระพุทธศาสนา
-ธรรมกายและพระมงคลเทพมุนี
-การศึกษาและปฏิบัติธรรม
-ความสำคัญของงานวิจัยในคำสอน
-ประวัติและภูมิหลังของพระมงคลเทพมุนี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มีพระสงฆ์กลุ่มใหญ่ที่เดียวที่ไม่เห็นด้วยกับการสังคายานั้น แต һากไปอ่านงานของนักวิชาการตลอดหลายท่านเริ่มจะไม่เห็นด้วยกับคณะนี้ เพราะมองว่า การแตกนิกายนน่าจะดำเนินไปอย่างเป็นขั้นตอน คือค่อยๆ แตกออกเป็นสายผ่านกาลเวลา หลายร้อยปี งานวิจัยชุดนี้ให้เห็นหลักฐานของการถอยห่างนี้ กาลเวลาผ่านไปสองพันกว่าปี พระมงคลเทพมุนี (สด จนทาสโล) ได้ชี้ เรื่อง "ธรรมกาย" เป็นแกนหลักในคำสอนของท่าน เนื่องจากท่านได้พบคำตอบเรื่อง "ธรรมกาย" จากการปฏิบัติ ท่านยืนยันในความเป็นอยู่จริงของธรรมกาย และยืนยันว่ายังเดียวแห่งการบรรลธรรมคือ การกำหนดจิตที่ศูนย์กลางกายเป็นเอากายนมรรคน หนังสือจากวัดปากน้ำภาษีเจริญให้รายละเอียดของการปฏิบัติแบบธรรมกายไว้โดยละเอียด ซึ่งคณะวิจัยได้นำมาใช้เพื่อเทียบคำสอนแห่งดีดีกับปัจจุบัน ซึ่งหลายบทตอนมีความสงสลด้องกันอย่างยิ่ง แม้จะมีข้อแตกต่างกันอยู่ในบางจุด เนื่องจากทุกคัมภีร์ที่ศึกษา ล้วนนำเนื้อความที่เกี่ยวข้องกับธรรมกายไปเปรียบเทียบกับคำสอนของพระมงคลเทพมุนี (สด จนทาสโล) จึงขอเล่าประวัติของท่านโดยย่อ เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภูมิหลังด้านการศึกษาและปฏิบัติธรรม ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More