ดวงญาณและวิชชาธรรมกายในคัมภีร์อุตรารักษา หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 220
หน้าที่ 220 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างดวงญาณของธรรมกายและอริยสัจ 4 ตามคำสอนในคัมภีร์อุตรารักษา โดยชี้ให้เห็นว่าหลักฐานวิชชาธรรมกายไม่มีความคลาดเคลื่อนจากพระไตรปิฎกบาลี และเน้นย้ำถึงความสำคัญของธรรมกายที่สอดคล้องกับคำสอนของพระสัมมาสัมพูตเจ้า รวมถึงการนำเสนอทัศนะแห่งจิตที่เป็นใหญ่ในการข้ามผ่านทุกข์.

หัวข้อประเด็น

-ดวงญาณในธรรมกาย
-วิชชาธรรมกาย
-อริยสัจ 4
-คำสอนจากคัมภีร์อุตรารักษา
-พระไตรปิฎกบาลี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดวงญาณนี้แหละ สำหรับรู้ชำ นันแหละ สมมาปัญญา ปสฺสติ เห็นตามปัญญาอันชอบ เห็นชัด ๆ ที่เดียว ดวงญาณของธรรมกาย ขยายออกไป ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ธรรมกายแล้ว ธรรมกายจะเห็น ทุกข์ สัขสัข นิโรธสัข มรรคสัข (รร. 195) จากคำสอนนี้ ตรงกับที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ุตรารักษาว่า อสทธาธานฺตเม ซึ่งในนี้เทียบได้กับการที่ดวงญาณของธรรมกายสามารถขยายออกไป ทำให้ ไปปรุให้เห็นอริยสัจ 4 ดังที่ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) กล่าวไว้นั้นเอง 1.3 หลักฐานวิชชาธรรมกายในคัมภีร์อุตรารักษาว่า คำสอนใน พระไตรปิฎกบาลี จากการศึกษา พบว่า หลักฐานวิชชาธรรมกายที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ อุตรารักษา ไม่มีความคลาดเคลื่อนจากคำสอนที่ถูกบันทึกไว้ในพระไตรปิฎกบาลี แต่อย่างใด ในปัจฉิมพุทธปทาน พระสัมมาสัมพูตรเจ้าตรัสอย่างชัดเจนกับ พระอานนท์ว่า ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย คือทรงมีธรรมกายมาก ดังพระบาลีนี้ว่า มหนตุรมา พุทธมยายา [พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย] ผู้มีธรรมใหญ่ มีธรรมกาย มา จิตเป็นใหญ่ ข้ามัวทุกข์ทั้งปวง มือตินิเป็นบาน เห็น ปรมิตธรรม เปรียบประดุจดั่งราชสีห์ และนอแรคฺณะนั้น บาทที่ 3 เอเชียคอนเนย์ | 219
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More