หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน
ประดาไดด้วยรัตนชาติ และธรรมภายของตกคตเปรียบการไม่แตกทำลายไปของมัดรายในแม่น้ำคงคา ซึ่งยังคงอยู่ที่เดิมแม้ถูกไฟผาลลายอยู่24
ในด้านการปฏิบัติ คัมภีร์สังกาวาตารยังสอนเรื่องมนตูลแห่งอาย วิญญาณอันเป็นประดุจคลื่นในมหาสมุทร25 และคำว่าตกคตครภซึ่งก็คือการเคลื่อนผ่านกิเลสทั้งหลายตั้งแต่ต้นแห่งสงสาร เมื่อใดที่กิเลสเหล่านั้นถูกทำลายไป ความบริสุทธิ์โดยกำเนิดก็จะเปิดเผยตนออกมาในที่สุด อายวิญญาณทำหน้าที่เสมือนต้นเหตุแห่งสงสารทั้งยังรองรับระบบแห่งสงสาร เมื่อใดก็ตามที่เกิด “การถอยกลับ” แห่งวิญญาณทั้งหลาย อายวิญญาณก็จะหยุดการทำงานลง และการถอยกลับนั่นก็จะทำให้ความบริสุทธิ์โดยกำเนิดเปิดเผยตัวตนของมันออกมา แม้ว่าตกคตครภกับอายวิญญาณจะถูกนเปจากกิเลสทั้งหลาย แต่ตัวตนของทั้งสองและอายอันเป็นแกนหลักของสรรพชีวิตทั้งหลายนันหาได้ถูกปนเปื้อนใดด้วยไม่
24 ดูเหตุผลอันสำหรับการไม่แตกสายไปในแห่งธรรมภาย : Further down, the T’ang translation speaks of the Dharmakāya (fa-shên) having no body whatever: and for that reason it is never subject to destruction. In the Sanskrit text the corresponding term is саріра or сайїрават, and not Dharmakāya, but from the context we can judge that саріра is here used synonymously with Dharmakāya. In fact, the Wei and the Sung translation also have fa-shên, that is, Dharmakāya, here. In Buddhism саріра is something solid and indestructible that is left behind when the dead body is consumed in fire, and it was thought that only holy men leave such indestructible substance behind. This conception is probably after an analogy of Dharmakāya forever living and constituting the spiritual substance of Buddhahood.
25 Suzuki. 1932: 39-40