ข้อความต้นฉบับในหน้า
2.5 ธรรมกายจะคงอยู่ในนิรันดร์ เป็นกายที่สุด
2.6 ธรรมกายของพระพุทธเจ้ามั่นคงและสงบ
3. พระไตรปิฎกจีนส่วนที่เป็นอาคมะ
พระไตรปิฎกจีนส่วนที่เป็นอาคมะนั้นเป็นส่วนที่รวบรวมพระสูตรต่างๆ
ที่ตรงกับพระสูตรต้นปิฎกของพระพุทธศาสนเถรวาท ประกอบด้วย 5 อาคมะ
คือ ทิรามคะ มัชชามคะ สังยุตตคะ เอกาตตรคะ และกฤษณคะ
ผู้เขียนได้ใช้ฐานข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับโบ (Taisho) ของมหาวิทยาลัย
โตเกียว เป็นหลัก จากการศึกษาพบว่าพระสูตรอาคมะได้กล่าวคำว่า
ธรรมกายอยู่ทั้งสิ้น 11 ที่ แบ่งเป็น ทิรามคะ 2 ที่ สังยุตตคะ 2 ที่ และ
เอกาตตรคะ 7 ที่ ผู้เขียนจึงได้เปรียบเทียบเคียงว่าวอาคมะนั้นตรงกับพระสูตรใด
ในพระสูตรต้นปิฎกของพระพุทธศาสนาเถรวาท และได้สรุปความหมายของ
คำว่าธรรมกายได้ดังนี้
3.1 พระอธิสงฆ์สาวกา 4 คู่ 8 บุคคล ของพระพุทธองค์ คือผู้ที่
ถึงพร้อมด้วยธรรมกายภายใน
3.2 การตรัสรู้ด้วยตัวเอง คือการรู้จักและเข้าใจธรรมภายใน
3.3 ตาตภคคือธรรมกาย เป็นฐานอัตูรสุตธ์
3.4 แม้กายหยาบจะสวยใสไป ธรรมกายจะคงอยู่เป็นนิรันดร์
และมีโภคบจากอาหารหยาบ
3.5 พระภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยธรรมกาย อนันองคคุณ 5 คือ ศีล
สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุติญาณทัสนะ เป็นเนื่องอันอุดมของโลกและทุกคน
สามารถเข้าถึงธรรมกายได้
บทที่ 2 คันธาระ เอกสารกลางและจีน | 91