การปฏิบัติธรรมและสมาธิตามคำสอนของพระมงคลเทพมุณี หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 110
หน้าที่ 110 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการปฏิบัติธรรมตามแนวทางของพระมงคลเทพมุณี เช่น การทำสมาธิ การนึกนิมิตต่างๆ การเห็นกายแก้ว และการมีประสบการณ์จากการปฏิบัติธรรม โดยการเห็นแสงสว่างในกลางกายและการนึกนิมิตพระพุทธรูป เป็นการชี้แนะถึงการฝึกปฏิบัติสมาธิและการสร้างความเข้าใจในธรรมะ รวมถึงคู่มือสิ่งจำเป็นในการทำสมาธิที่แปลสู่พุทธจิน ทำให้ผู้อ่านสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อสร้างสติและสมาธิได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการเข้าถึงธรรมภายในที่ถูกอธิบายในคัมภีร์ที่สืบต่อมา รวมถึงการนึกถึงพระธรรมกายและการรายงานประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติ.

หัวข้อประเด็น

-ประสบการณ์การปฏิบัติธรรม
-การทำสมาธิตามคำสอน
-นิมิตกรรมพระพุทธรูป
-กายแก้วในกลางกาย
-ดวงสว่างในสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ในกลางมหาฤกษ์บุปผี อันนี้เรียกว่าสกัภภ์ในกาย (ตัวคัมภีร์กล่าวถึงสติปฐมสี) การปฏิบัติธรรม วิธีการทำสมาธิเว็บัย กับวิธีปฏิบัติของพระมงคลเทพมุณี (สด จนทสโร) ได้แก 4.1 ประสบการณ์ของผู้ปฏิบาสามารถเกิดการเนื่ององค์พระผุดซ์ออกมาจากกลางนาภีขององค์พระแต่ละองค์ได้ 4.2 เนื้อหาในส่วนหนึ่งกล่าวถึงประสบการณ์แห่งการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับคำสอนของพระมงคลเทพมุณี (สด จนทสโร) คือ การเห็นกายแก้ว การเห็นแสงสว่างในกลางกาย ในคัมภีร์กล่าวว่า ผู้ปฏิบัติตพบกายแก้ว แล้วเห็นดวงสว่างผดอากจากกลางกายนัน และให้ปฏิบัติบินพระอามิตายุสในกลางดวงสว่างกลางกายนั้น 5. คู่มือ สิ่งจำเป็นในการทำสมาธิ (The Abridged Essentials of Meditation) แปลสู่พุทธจินโดยพระมงคลชิวะ ประมาณปลาย พ.ศ. 843 5.1 นึกนิมิตพระพุทธรูปที่มีลักษณะมหาบุรณ์ครบถ้วน 32 ประการ และอนุพุทธชนะอีก 80 5.2 นึกนิมิตพระรูปปางที่ประกอบด้วยขั้น 5 (เบญจขันธ์) ของพระพุทธองค์ดูเดี่ยวกับที่พระพุทธองค์ประทับนั่งแสดงพระธรรมเทศนาที่ปาอิสสินนฤกษ์ทายวัน หรือที่เขาชมภู 5.3 นึกนิมิตพระธรรมกาย เมื่อใดที่ประกอบด้วยธรรมขันธ์ 5 อย่างคือสิริขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิปุตฺติขันธ์ วิฒติญาณขันธ์ ทศพลญาณ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More