ฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโวหาร 1 ฉบับประชาชน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 239
หน้าที่ 239 / 278

สรุปเนื้อหา

คัมภีร์พุทธโวหาร 1 ฉบับประชาชนได้กล่าวถึงการปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติธรรมและการนั่งสมาธิในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นว่ามีความคล้ายกันกับการสอนของพระมงคลเทพมุนี และเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมในจีนมีรากฐานมาจากพุทธศาสนาที่มีอิทธิพลอย่างมากในอดีต การนั่งสมาธิที่ถูกกล่าวถึงในคัมภีร์นี้เน้นการเห็นพุทธรูปและดวงสว่างภายใน ซึ่งช่วยให้ผู้ปฏิบัติสามารถเข้าถึงความสงบในจิตใจได้

หัวข้อประเด็น

-การนั่งสมาธิ
-การปฏิบัติธรรม
-พุทธศาสนาในจีน
-คัมภีร์พุทธโวหาร
-พระมงคลเทพมุนี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโวหาร 1 ฉบับประชาชน การปรับเปลี่ยนในเกิดวิธีใหม่อ่อนยากกว่าการปรับเปลี่ยนคำสอน ซึ่งเพียงแค่เปลี่ยนตัวหนังสือใหม่ก็เปลี่ยนได้แล้ว การกล่าวถึงการนั่งสมาธิบนเนองค์พระด้วยการหยุดนิ่งภายในจงเกิดความสงบจากความว่าง จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ชาว่า การนั่งสมาธิแบบนี้เกิดขึ้นมานานตั้งแต่เดิมแล้ว คัมภีร์ที่กล่าวถึงทั้งหมดนี้ โดยส่วนใหญ่มีหลักการและวิธีปฏิบัติธรรมหที่คล้ายกับ พระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) เป็นอย่างมาก จะต่างกันก็ในเชิงรายละเอียด ถึง จากคัมภีร์ธาระและเอเชียกลางมาสู่จีน พุทธศาสนาอาจจะเข้ามาสู่จีนตั้งแต่ยังโบราณกาล ซึ่งอาจจะย้อนกลับไปได้ถึงราว พ.ศ. 200-300 อิทธิพลของพุทธศาสนามีต่อสัมพันธของจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการนั่งสมาธิ ซึ่งแสดงว่าการปฏิบัติธรรมแบบพุทธเป็นที่นิยมกันมากและเผยแพร่ออกไปอย่างกว้างขวาง จากคัมภีร์ที่ศึกษาพบว่า การปฏิบัติธรรมของจีนในคัมภีร์เป็นแบบการเห็นองค์พระ และรู้สึกถึงองค์พระที่ศูนย์กลางกาย แล้วเห็นองค์พระผุดช้อนออกมาจากกลางนาฬิกาขององค์พระแต่ละองค์ มีการเห็นภายในแก้ว เห็นแสงสว่างในกลางกาย ในคัมภีร์กล่าวว่า เห็นดวงสว่างผุดออกมาจากกลางกายนัน และให้ผู้ปฏิบัติเทิดพระอิทธิฤทธิ์ในกลางดวงสว่างกลางกายนัน ในนามานามสมบูรณ์ ระบุวิธีการถึงพระพุทธเจ้า ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นวิธีเก่าแก่แต่พุทธศตวรรษที่ 6 ซึ่งพระภิกษุอัญเชิญมาได้มาแปลใน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More