คัมภีร์พระธรรมภายใน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 177
หน้าที่ 177 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคัมภีร์พระธรรมภายในที่ถูกค้นพบเมื่อเดือนมีนาคม 2556 โดยสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยที่ออสเตรเลียและนิวยอร์แลนด์ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมและพุทธปรัชญา คัมภีร์นี้มีความสำคัญเพราะเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับพระญาณและธรรมภายในต่างๆ รวมถึงคาถาบาลีที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานไว้สำหรับวัดพระเชตุพนฯ ซึ่งยังไม่ได้ถูกอ้างอิงในเชิงวิชาการมานาน โดยเนื้อหาในคัมภีร์นี้ถูกจัดเป็น 16 หน้าแผ่น มีรายละเอียดการอธิษฐานต่างๆ ที่สอดคล้องกับการศึกษาในสาขาวิทยาการเป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบกับผลงานของศาสตราจารย์องค์ ซีเดส ที่เผยแพร่บทบาลีที่มีความคล้ายคลึงกันก่อนหน้านี้ในวารสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อประเด็น

-การค้นพบคัมภีร์พระธรรมภายใน
-ความสำคัญของคัมภีร์ในพุทธศาสนา
-การศึกษาคาถาบาลี
-จุดเชื่อมโยงระหว่างคัมภีร์และวิทยาการต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลาการธรรมภายในคัมภีร์พระธรรมภายใน คัมภีร์ประชาชน อย่างไรก็ดีตามหนังสือพระธรรมภายในที่ ศำ้ กล่าวถึงนั้นไม่เป็นที่รู้จัก หรือพบเห็นอ้างอิงในด้านวิชาการตั้งแต่ทศวรรษที่ผ่านมาได้รับการเผยแพร่ ในต้นพุทธศตวรรษนี้ จนกระทั่งในเดือนมีนาคม 2556 สถาบันวิจัยนานาชาติ ธรรมชัยประเทศออสเตรเลียและนิวยอร์แลนด์จึงได้รับพบคัมภีร์พระรัฐภายใน ขณะปฏิบัติงานภาคสนามที่วัดพระเชตุพน คัมภีร์ดังกล่าวเป็นคัมภีร์ไตรลักษณ์ ที่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานไว้สำหรับวัดพระเชตุพนฯ เป็นการเฉพาะ เขียนเป็นคาถาบาลี 16 หน้าแผ่นด้วยอักษรไทยไม่ปรากฏ วันที่จาร ตอนต้นเป็นคาถาพระธรรมภายในตั้งแต่ สพพญฺญตุณปริสีสี จนถึง อิมิ มรมภายทูลกผ ฯ ซึ่งมีความยาวประมาณ 2 หน้าผล่า ที่ เหลืออีก 14 หน้าแผ่นเป็นคาถาบาลีที่อธิษฐานถวายต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็น พระธรรมภายในด้วยเนื้อหาที่ละเอียดในลักษณะคล้ายอรรถกถา คัมภีร์พระ ธัมมภายในจึงเป็นคัมภีร์โรบาร ที่เสนอรายละเอียดขยายความหมายของ พระญาณและธรรมต่างๆ ของธรรมภายใน อย่างไรก็ดีตาม ศาสตราจารย์ องค์ ซีเดส (Georges Cedes) ผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการแขนงต่างๆ ทางภาคพื้นเอเชียอาคเนย์และเอเชียใต้ได้เผยแพร่ราคา บาลีบทเดียวกับที่ปรากฏในคัมภีร์พระธรรมภายในตั้งแต่ พ.ศ. 2499 แต่ใช้ชื่อ ที่แตกต่างออกไปว่า “สมภารอสุร อฏฐวณฺฑนา” อันเป็นคำที่ปรากฏอยู่ท้าย ที่สุดของคาถาดังกล่าวไว้ในบทความ “ธัมมกายา” (Dhammakāya) วารสาร แอดยาร์ ไลบราลี่ บุลเลทิน (Adyar Library Bulletin) โดยอ้างอิง คัมภีร์ ใบลานอักษรเขมรได้จากวัดอุฎฐานโลม กรุงเทพฯปทุมธานี และคัมภีร์ใบลานอักษรของ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More