บทบาทของมหาสงกิยมในพุทธศาสนา หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 40
หน้าที่ 40 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับมหาสงกิยมและอิทธิพลที่มีต่อมหายานในพุทธศาสนา รวมถึงความสำคัญของการเปิดใจในการศึกษาประวัติศาสตร์ ซึ่งมักมีการกล่าวถึงดินแดนค้นธาระและเอเชียกลางที่มีความเชื่อมโยงกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และภาษา โดยเฉพาะเมื่อพูดถึงการเผยแผ่ของพระพุทธศาสนา ดินแดนเหล่านี้มีบทบาทสำคัญในเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อประเด็น

-มหาสงกิยม
-มหายาน
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
-ค้นธาระ
-เอเชียกลาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มหาสงกิยมก่อนซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นคำสอนของมหายานด้วย ด้วยเหตุนี้องค์นักวิชาการบางท่าน เวลกล่าวว่า “มหายาน” จึงหมายรวมเอา “มหาสงกิยะ” เข้าไปด้วย จากนิยายศัพท์เกี่ยวกับนิยายเช่นน้ำให้เป็นสิ่งที่พึงระหนักในการอ่านงานวิจัยชินนี้ว่า การที่จะฟันธงเกี่ยวกับนิยายอย่างเด็ดขาดเป็นสิ่งที่อันตรายอย่างยิ่ง การอ่านประวัติศาสตร์พุทธศาสนาจำเป็นต้องเปิดใจให้งว้าง และทำความเข้าใจเท่าที่เห็นว่ามีข้อมูลอยู่ ค้นธาระ ดินแดนค้นธาระ หมายถึง ดินแดนโบราณที่หมายถึงหุบเขาเปชวาร์ หรือที่ขยายอาณาเขตออกมาครอบคลุมถึงบามียันในศตวรรษวันตก กิลิดในตอนเหนือ และตัศศิลาในตอนใต้ รวมถึงัศมีระ ได้แก่ หุบเขาแคเมียร์ เอเชียกลาง หมายถึง พื้นที่ในเขตขอครองตนเองของประเทศจีนบริเวณโอเอชรอบทะเลทรายทาลามากันที่เรียกว่า ทาร์ิม เบชิน (Tarim Basin) ใน ซีไนติ ส เตอร์กสถาน (Chinese Turkestan) หรือ อีสต์เทิร์น เตอร์กิสถาน (Eastern Turkestan) ทั้งค้นธาระและเอเชียกลางนั้นเป็นดินแดนที่มีความคาบเกี่ยวกันอยู่ทั้งในเรื่องของประวัติศาสตร์ รวมไปถึงภาษาและวัฒนธรรม ดังนั้นแม้ว่าดินแดนทั้งสองจะมีพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ที่อาจแบ่งแยกจากกันได้ในระดับหนึ่ง แต่งานเขียนทางวิชาการเกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหลายชิ้นยังคงกล่าวถึงดินแดนทั้งสองนี้ควบคู่กัน หรือกล่าวรวบมาในการชื่อดินแดนในตอนเหนือ ฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย ตอนบนของประเทศอาณิสถาน ปากสถาน และแคชเมียร์ ก็มีระ รวมไปถึงบริเวณประเทศอุซเบกิสถาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More