หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์ทุภฐานุกรม 1 ฉบับประชาชน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 209
หน้าที่ 209 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคัมภีร์มูลพระกัมมัฎฐานซึ่งเป็นเอกสารที่บันทึกผลจากการปฏิบัติธรรมของคนรุ่นก่อน ทบทวนถึงดวงตาเห็นธรรมและประสบการณ์สูงสุดที่เกิดจากการปฏิบัติ การเข้าถึงความรู้ต่างๆ และวิชาธรรมภายใน คัมภีร์นี้มีทั้งประสบการณ์ที่เปิดเผยและเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ธรรมะที่สืบทอดมาจากรุ่นสู่รุ่น การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติในคัมภีร์ฉบับนี้กับวิชชาธรรมกายแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของประสบการณ์ภายในที่แต่ละบุคคลหรือสำนักเข้าถึง.

หัวข้อประเด็น

-หลักฐานธรรม
-คัมภีร์ทุภฐานุกรม
-การปฏิบัติธรรม
-ประสบการณ์ภายใน
-วิชชาธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์ทุภฐานุกรม 1 ฉบับประชาชน กล่าวโดยย่อ คัมภีร์มูลพระกัมมัฎฐาน เป็นคัมภีร์ที่บันทึกผลจากการปฏิบัติธรรมของคนสมัยที่ผ่านในระดับชั้นต่าง ๆ ตามหลักสูตรที่เขียนไว้ มีการสืบทอดและเผยแผ่จากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ต่อมาคัมภีร์นี้มีการจาร คัดลอกและอาจจะมีอภิปรายเนื้อหาเพิ่มเติมในเชิงสัญลักษณ์และอภิปรายตามสภาวธรรมต่าง ๆ ตามแนวทางการเรียนการสอนของคนในสมัยหลัง ผลที่เกิดจากการปฏิบัติที่ปรากฏในคัมภีร์นี้ ผู้าท่านสามารถมีประสบการณ์ถายในคือ ภายใต้ดีนี้ เกิดดวงตาเห็นธรรม เห็นแสงสว่าง เห็นดวงแก้ว ดวงศิลา เห็นพระพุทธเจ้า เห็นพระอริยสงฆ์ และการเข้ามา ไปสวรรค์ ไปชั้นพรหมโลก เป็นต้น เมื่อเอา ผลแห่งการปฏิบัติจากคัมภีร์นี้ไปเทียบกับ วิชชาธรรม ก็จะเห็นว่า มีผลแห่งการปฏิบัติเต่ะระดับปีติ 5 เป็นต้น ไปจนถึงชั้นอุปพรหม แต่หากเทียบกับวิชาชาที่ธรรมภายจะเห็นสูงสุดอยู่ในระดับกายธรรมโคตรภู ส่วนสิ่งที่แตกต่างกันระหว่างผลแห่งการปฏิบัติในคัมภีร์ฉบับนี้ กับวิชชาธรรมกายก็คือ เนื้อหาในคัมภีร์นี้จะบอกรายละเอียดประสบการณ์ภายใน และขั้นตอนในการเข้าสู่ธรรมในชั้นต่าง ๆ นั้นมีอธิบายไม่มากเท่ากับพระมงคลทพนูรี (สด จนทธโล) และอีกประกาศหนึ่งก็คือ ผลจากการปฏิบัติธรรมตามหลักสูตรที่ปรากฎในคัมภีร์นี้กับผลจากการปฏิบัติที่บันทึกใน คัมภีร์พระกัมมัฎฐานฉบับอื่น ๆ ก็มีผลจากการปฏิบัติออกมาไม่ตรงกัน กล่าวคือสาวากธรรมของผู้เจริญวนาแต่ละท่านหรือแต่ละสำนักในสมัยนั้น จะเข้าถึงธรรมะ มีความลึกขึ้นไม่เท่ากัน ถึงแม้จะเริ่มและปฏิบัติตามหลักสูตรเดียวกันก็ตาม แต่ยังไงก็ตามเนื้อหาที่ปรากฏในคัมภีร์โลปลานต่าง ๆ ในภาษาขมโบราณนี้ เชื่อเป็นหลักฐานทีแสดงให้เห็นถึงร่องรอยของวิชาธรรมภายที่ขาดหายไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More