ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรรมภายในคัมภีร์พระนิพนธ์ฉบับที่ 1 ฉบับประชาชน
2. คัมภีร์ประเภททินนาถ ภาษาคาราวะจากบทธิป ไบนารี คอลเลคชั่น (British Library Collection) พ.ศ. 490-510 สถานที่พบ ฉบับ สันนิษฐานว่าเป็นสายธรรมคุปต์ เป็นคัมภีร์ขยายความคาถาในภาษาคาราวะ ซึ่งเนื้อความในคาถาที่มาขยายความนั้น ตรงกันกับเนื้อความในพระไตรปิฎกบาลีบาง หรือพบในธรรมบทภาษาคาราวะ อุทานวรรณคาถาสันลกสูต หรือคัมภีร์อื่นแต่ไม่พบในพระไตรปิฎกบาลีมี
ข้อความในพระสูตรนี้ กล่าวถึงอนุปทีเสสนิพนธ์ ว่าไม่มีความแก่นกล่าวถึงนิพนธ์บททองอย่างว่าเป็นความเกษมจากโยคะ ซึ่งตรงกันข้ามกับอุปาทานขันธ์ 5 ซึ่งกำลังเสื่อมไป เป็นทุกข์ และสอนให้ข้ามขันธ์ 5 แสงหา พระนิพนธ์ เป็นหลักคำสอนที่ตรงกันในทุกกิริยา และตรงกันกับหลักการใน วิชชาธรรมกาย
3. วาสิญญสูตร ภาษาคาราวะ จากซีเนียร์ คอลเลคชั่น (Senior Collection) พ.ศ. 610-620 สถานที่พบ ฉบับ สันนิษฐานว่าเป็นสายสรรวาสติวาท
"ภิกขุหลาย เรากล่าวความสิ้นไปแห่งสวะทั้งหลาย สำหรับผู้รู้ๆ อยู่ ผู้เห็นๆ อยู่ มิใช่สำหรับผู้ที่ไม่ ผู้ที่ไม่เห็น เรายกกล่าวความสิ้นไปแห่งสวะทั้งหลายสำหรับผู้ที่... ร้อยอยู่ในวุฒา นี่อรูป นี่อรูป เหตุเกิดแห่งรบ นี่คือความดับไปแห่งรูป ๆ ลา" เป็นหลักธรรมที่ว่า ด้วยความสำคัญของ "การเห็น" ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญ ข้อหนึ่งไปสู่การกำจัดสัสและการตรัสรู้ ที่ตรงกันในพระไตรปิฎกบาลี และ