การให้ความหมายของเฑรวา หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 38
หน้าที่ 38 / 278

สรุปเนื้อหา

ดร.ชนิดา ได้แบ่งการให้ความหมายของ 'เฑรวา' เป็น 3 ระดับ โดยที่ระดับแรกคือการใช้คำว่า 'เฑรวา' เพื่อหมายถึงนิยายที่ไม่ใช่มายาน ระดับกลางหมายถึงกลุ่มชาวพุทธที่สืบทอดคำสอนจากพระอรหันต์ 500 รูป หลังจากพุทธปรินิพพาน ขณะที่ระดับแคบสุดคือพระพุทธศาสนาที่มาปักหลักในศรีลังกาและเอเชียอาคเนย์ มหาสงิฏกะคือกลุ่มนักบวชที่แยกตัวออกจากสติรวา มีตำนานพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการแตกกลุ่มสงฆ์สองสายในสองช่วงเวลา

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของเฑรวา
-ระดับต่างๆ ของความหมาย
-ความแตกต่างระหว่างบาลีและสันสกฤต
-พระพุทธศาสนาในศรีลังกา
-ความสำคัญของมหาสงิฏกะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดร.ชนิดา ได้แบ่งการให้ความหมายของคำนี้เป็น 3 ระดับดังนี้ ก.ในความหมายที่ว้างที่สุด คือ การใช้คำว่า “เฑรวา” เพื่อหมายถึง 18 หรือ 20 นิยายดังเดิมที่ “ไม่ใช่มายาน” (การใช้คำว่า “เฑรวา” เพื่อเรียกนิกายดังเดิมทั้งหมดที่ไม่ใช่มายาน เกิดจากความพยายามหลีกเลี่ยงที่จะใช้คำว่า “หินยาน” ซึ่งมีความหมายต่ำต้อย ดังนั้นขวับทธิปท่าน จึงเลี่ยงไปใช้คำว่า “เฑรวา” แทนคำว่า “หินยาน”) ข.ในความหมายระดับกลาง “เฑรวา” เป็นศัพท์บาลี เทียบเท่ากับศัพท์สันสกฤต “สติรวา” หมายถึง กลุ่มชาวพุทธที่สืบทอดคำสอนมาจากพระอรหันต์เระ 500 รูป ผู้สื่อคายนาจารพระพุทธวจนะ ภายหลังจากพุทธปรินิพพานเป็นเวลา 3 เดือน อย่างไรก็ดีตามในความหมายนี้วงวิชาการสายพุทธศาสตร์ นิยมใช้ศัพท์สันสกฤต “สติรวา” มากกว่าศัพท์บาลี “เฑรวา” เพื่อไม่ให้เกิดการสันสนกับความหมายที่ 3 (ค.) ซึ่งเป็นความหมายที่ใช้บทที่สุด ค.ในความหมายระดับแคว “เฑรวา” หมายถึง พระพุทธศาสนาที่มาปักหลักอยู่ในศรีลังกากับเอเชียอาคเนย์ มหาสงิฏกะ หมายถึง นักบวชที่แยกตัวออกมาจากสติรวา หรือที่คนไทยเรียกว่า เฑรวา ตำนานพระพุทธศาสนากล่าวถึงการแตกกลุ่มสงฆ์ออกเป็นสองสายไว้ 2 ช่วงเวลา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More