มหาปรีณิธานสูตรและธรรมภายใน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 236
หน้าที่ 236 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความหมายและความสำคัญของธรรมภายในตามมหาปรีณิธานสูตรและคัมภีร์อื่นๆ โดยเน้นว่า ธรรมภายในมีคุณสมบัติที่เที่ยงแท้และบริสุทธิ์ เป็นกายแก้วของพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังพูดถึงบทบาทของอัตตาและความหลากหลายของธรรมภายในในสรรพชีวิต รวมถึงการเข้าถึงธรรมในฐานะที่เป็นแก่นของการปฏิบัติธรรม เพื่อให้ความเข้าใจที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับหลักคำสอนในพระพุทธศาสนามากขึ้น ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-มหาปรีณิธานสูตร
-ธรรมภายใน
-อัตตาในพระพุทธศาสนา
-การปฏิบัติธรรม
-คุณสมบัติของธรรมภายใน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มหาปรีณิธานสูตร ปรัชญาปรัชญา อัญญาสากษีรา และคัมภีร์สายตาคาด ครรภะ และอาจจะเป็นเพราะว่าคำสอนนี้กันนี้ดูผ่านๆ จะใกล้กับเรื่องอัตตาของพรามณ์ จึงทำให้ถูกกันออกไปจากคัมภีร์ดังเดิมที่เป็นสายหินยาน ทั้งๆ ที่ ในคัมภีร์โบราณสูตร (พ.ศ. 480) ภาษาคาร์ถิรก็อธิบายถึง “ดอกบัวที่ไม่ติดอยู่ ในน้ำและโคลนตม” คือสายตรัสรู้รั้วออกจากกายเนื้อของพระพุทธองค์ โพธิสัตถูสูตร (พ.ศ. 580) กล่าวถึงธรรมภายที่ไม่่านอธิบายวาเป็นหมวดหมู่แห่งธรรมได้ คือประโยคว่า “พลังของธรรมภายไม่มีการสูญเสียไปหรือ เลือมไป” และพระพุทธองค์มีธรรมเป็นภาย พระสูตรนี้กล่าวถึง ตกตาชมหมายถึงธรรมภาย และเมื่อรวมถึงคัมภีร์มหาปริณิทธร ซึ่งเก่าแก่ที่สุด ที่กล่าวว่า ธรรมภายมีคุณสมบัติ ๔ ประการคือ นิจกัง สังขัง อัตตะ และความบริสุทธิ์ ธรรมภายเป็นกายแก้ว เที่ยงแท้ และไร้ขอบเขต พระพุทธเจ้าเป็นอัตตา กาย ของพระพุทธเจ้ามีได้เกิดจากการประกอบของมหาคฤหัส ๔ แต่กายที่แท้จริง ของพระตถาคตคือธรรมภาย หล่านี้ อัตตาจึงหมายถึง ธรรมาภายในเนื้อหรือภายในอื่นที่มีบีดระดับสาลายและเป็นอัตตา ธรรมภายคืออะไร หลากคัมภีร์ในทุกยุคทั้งเก่าและใหม่ยังคงกล่าวถึงธรรมภายว่าเที่ยงแท้ เป็นอัตตา มีความบริสุทธิ์ เป็นกายแก้วอุดมด้วยมหาปรัศลักษณะซึ่งมีรัศมีส่องสว่างไร้ขอบเขต ปราศจากการไปและการมา มีปริมาณมากมายราวเม็ดทรายในท้องพระมหาสมุทร อุดมด้วยปัญญามีแต่ผู้ปฏิบัติธรรมและมีบารมีมากเพียงพอเท่านั้นจึงจะสามารถเข้าถึงได้ และดังที่ได้กล่าวมาแล้วถึงแก่นธรรมของ “ตถาคตธรรม” (ถอยหลังไปได้ราว พ.ศ. 400) ที่อธิบายว่า กายแท้แห่งนี้มีอยู่ในทุกสรรพชีวิต แต่ถูกหุ้มด้วยเปลส เมื่อใดที่เปลสเหล่านั้นถูกทำลายไป ความบริสุทธิ์โดยกำเนิดก็จะเปิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More