หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 123
หน้าที่ 123 / 278

สรุปเนื้อหา

เอกสารนี้นำเสนอหลักฐานเกี่ยวกับธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณที่มีการเปรียบเทียบระหว่างการปฏิบัติของวิชาธรรมกายและโภาคาร โดยระบุว่ามีจุดเหมือนและแตกต่างในการใช้บริการและกระบวนการสู่ธรรม ตั้งแต่การใช้แต่ละข้อต้น ปัจจุบันมีการศึกษาโดยการรวบรวมแหล่งข้อมูลจากคัมภีร์ไตรลานและหนังสือพื้นฐานที่ใช้ในการบรรยายถึงปฏิบัติธรรมและการเข้าถึงธรรมเพื่อการศึกษาทางวิชาการ โดยเน้นการวิจัยนี้ไปที่หลักการปฏิบัติและพัฒนาการของกระบวนการในด้านต่างๆ ในการปฏิบัติธรรมเหมือนกันทั้งสองฝ่าย

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรม
-วิชาธรรมกาย
-โภาคาร
-คัมภีร์ไตรลาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน ปฏิบัติหรือ "สายวิปัสสนา" แต่จะมีความแตกต่างกันบ้างในรายละเอียด สำหรับการปฏิบัติมีความเหมือนกันระหว่างวิชาธรรมกายและโภาคารใน เรื่องการใช้บริการมนิตความสง่างามและคำที่ใช้ในบริการภาวนา รวมถึงการ ทำ "หยุด" แต่มีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงเรื่องที่ตั้งของจิตดต่างๆ ใน ร่างกาย ทางเดินของจิต กระบวนการสู่ธรรมรวบและอธิบาย โดยเฉพาะที่ วิชชาธรรมกายมีภายธรรมต่างๆ ในกระบวนการ "ผ่าน" จากกายธรรมหนึ่ง ไปสู่กายธรรมที่สูงชัน เปรียบเทียบกับโยคาวจรในการใช้ธรรมกายเป็นบริการ นิยมในนิธในกรรมฐานพุทธคุณ ความเหมือนกันในส่วนของหลักการและความ แตกต่างในระดับกระบวนการปฏิบัตินี้ก็ให้เห็นว่าหลักการในภาคปฏิบัติงั้น สองฝ่ายมาจากโครงสร้างเดียวกันแต่พัฒนากระบวนการในการปฏิบัติ ไว้ต่างกัน ในการศึกษาการปฏิบสมาธิศาสตร์นี้ นอกจาก ดร.กิชยะจะใช้แหล่ง ข้อมูลท้องถิ่นภูมิ่างๆ ข้อต้นแล้วยังได้ใช้แหล่งข้อมูลภูมิปัญญาในหนังสือ ตัวเขียนอันได้แก่คัมภีร์ไตรลานและหนังสือพิบาสา โดยรายการแหล่งข้อมูล ภูมิปัญญาคัมภีร์ไตรลานอักษรธรรมรวมถึงสถานที่เก็บคัมภีร์ไตรลานและสื่อที่ใช้ อ่านในการวิจัยนี้ดังนี้ 1. "พุทธรรมก้น" พุทธสักราช 2466 วัดโพธิ์ศรี อำเภอเมืองฯ จังหวัด มหาสารคาม หนังสือใบลาน 1 ผูก อักษรธรรมอีสาน ภาษาไทยอีสาน และ ภาษาบาลี 2. "ธัมมกาย" พุทธศตวรรษที่ 24 วัดพระเชตุพนฯ กรุงเทพฯ คัมภีร์ ลานเงิน อักษรขอมไทย ภาษาบาลี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More