หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโองการ 1 หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 215
หน้าที่ 215 / 278

สรุปเนื้อหา

พระอรรถถากรมีส่วนในการแปลธรรมกาลสิงห์และผลงานในคัมภีร์รตุรารา แม้ว่าไม่มีหลักฐานยืนยันว่าท่านเป็นผู้แต่งจริง การศึกษาเปรียบเทียบข้อความในคัมภีร์รตุรารากับพระไตรปิฎกเผยให้เห็นถึงความเชื่อมโยงในด้านการใช้คำและเนื้อหา ผู้ศึกษาจึงสันนิษฐานว่าผู้แต่งอาจเป็นพระภิกษุผู้มีความรู้ในพระไตรปิฎกและภาษาบาลี โดยมีการบันทึกข้อมูลในหนังสือรวมวรรณคดีเพื่อยืนยันเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลที่มีการอธิบายจากหลายแหล่งช่วยสนับสนุนการศึกษาผลงานทางวรรณคดีของพระพุทธโสภาจารย์ เป็นต้น

หัวข้อประเด็น

-คัมภีร์รตุรารา
-พระอรรถถากร
-พระพุทธโสภาจารย์
-การศึกษาเปรียบเทียบ
-รัตนะและคุณธรรมในพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโองการ 1 ฉบับประชาชน พระอรรถถากรผู้มีชื่อเสียง ซึ่งมีชีวิตอยู่ในราชกัสดรธรรมาที่ 4-5 ในพุทธโองการ สุขปีติ ระบุไว้ว่า ท่านเดินทางมาศร่งก้าเพื่อแปลธรรมกาลสิงห์เป็นนครในรวี ปี ค.ศ. 387 และเสร็จสิ้นงานแปล เดินทางกลับประเทศในรวี ค.ศ. 403 (Gray 1892: 13, 19) ท่านได้แปลและเรียบเรียงผลงานอรรถถกเป็นจำนวนมาก แต่ในจำนวนนี้ไม่พบชื่อ คัมภีร์รตุรารา (Malalasekara 1994: 94-98) ส่วนบัญชีรายการโบลานจตุราราข์เก็บไว้ที่จดเอกสารในหอสมุดแห่งชาติ ได้บันทึกยืนยันอย่างชัดเจนเป็นภาษาไทยว่า ผู้แต่งคัมภีร์นี้คือพระพุทธโสภาจารย์ (Skilling and Santi 2002: 60) ทั้งนี้เป็นไปได้ผู้จัดทำบัญชีอาจเขียนบันทึกตามหมายเหตุที่ถูกจารณต่อๆ กันมาในตอนท้ายใบลาน (colophon) จากการศึกษาเปรียบเทียบการใช้คำ จำนวน และเนื้อความบาบในการอธิบายคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในคัมภีร์รตุราระกับพระไตรปิฎกและอรรถถกาบาลี ทำให้ทราบว่า มีหลายแห่งด้วยกันที่ผู้แต่งคัมภีร์รตุราราใช้คำ สำนวน การอธิบายเหมือนกับที่พระพุทธโสภาจารย์ใช้อธิบายคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในสมันตปาสาทิกา อรรถถกาพระวินิช ดังนั้นอาจเป็นไปได้ว่าคัมภีร์รตุราราขาดตกแต่งขึ้นโดยพระพุทธโสภาจารย์ แต่ดูจากผลงานทางวรรณคดีของท่านแล้ว ยังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจนพอที่จะสรุปได้ว่านั่นเป็นผู้แต่งจริง ๆ ในกรณีนี้ผู้ศึกษาสันนิษฐานว่า ผู้แต่งคัมภีร์น่าจะเป็นพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งที่มีการศึกษา มีความรู้ความสามารถถึงในด้านพระไตรปิฎก อรรถก และภาษาบาลี อีกอย่างหนึ่ง จากการประเมินข้อความของคัมภีร์รตุราระในคัมภีร์สัญห์ติ และคัมภีร์ทุทธสิกขา-มูลสิกขา ข้อมูลที่บันทึกไว้ในหนังสือรวมวรรณคดี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More