หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโธปกรณ์ 1 ฉบับประชาชน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 35
หน้าที่ 35 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการแพร่กระจายและการสื่อสารของพุทธศาสนาในอุษาคเนย์ โดยการเชื่อมโยงเส้นทางการเดินทางในประวัติศาสตร์ที่เชื่อมต่อประเทศในภูมิภาค รวมถึงการสื่อสารทางวรรณกรรม และการบันทึกข้อธรรมของพระพุทธเจ้าผ่านคัมภีร์ที่สืบต่อจากรุ่นสู่รุ่น ทำให้พุทธศาสนาเถรวาทยังคงมีบทบาทสำคัญในชีวิตผู้คนระหว่างที่มีความหลากหลายทางศาสนาในแผ่นดินสยาม แม้ว่าวัตถุที่ใช้บันทึกมีความคงทนต่ำก็ตาม

หัวข้อประเด็น

-เส้นทางการแพร่กระจายพุทธศาสนา
-การสื่อสารทางศาสนา
-ความสำคัญของคัมภีร์
-วรรณกรรมและการบันทึกคำสอน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโธปกรณ์ 1 ฉบับประชาชน เรียกว่าสายทางสายไหมอยู๋ ส่วนทางน้ำ สามารถเดินทางข้ามอ่าวเมตะมะและมหาสุทรอินเดีย ลงอ่าวมะละกาและทะเลอันดามัน อีกเส้นทางหนึ่งคือ ล่องยาวไปสู่ทะเลจีนใต้เข้าสู่เขมรและเวียดนาม การเดินทางระหว่างแผ่นดินพุทธภูมิอุษาคเนย์จึงน่าจะเกิดขึ้นนับหลายพันปีมาแล้ว ภาพมัวร์โบราณ "วังรัชผาครับชุบอรามิตตา" จากสกุลเดน ดอลเลอร์ชัน แน่นอนว่า การรับพุทธศาสนาต้องตามมาด้วยการสื่อสารทางศาสนาของชาวพุทธ ทั้งการถ่ายทอแบบปากต่อปาก การท่องจำ การประพันธ์เป็นบทกวีและบทขับร้อง บทสด การเกะสลักและจารีตเป็นตัวอักษร ตลอดจนการสร้างถาวัตถุในรูปแบบต่าง ๆ ถึงแม้ว่าผืนดินสยามจะมีศาสนาและลัทธ้อื่นปะปนอยู่ แต่พุทธศาสนาเถรวาทยังยืนหยัดอยู่ในวิถีชีวิตของผู้คนในทุกระดับ มีการจกพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าลงเป็นคัมภีร์ แต่ด้วยวัตถุที่รองรับซึ่งได้แกะใบลานและกระดาษนั้นมีความคงทนถาวรน้อย ทั้งยังมีการคัดลอกสืบต่อกันมาจากรุ่นไปสู่รุ่นอันเป็นกระบวนการที่ง่ายต่อการปรับเปลี่ยนไปตามความเข้าใจของผู้คัดลอก แต่แม้กระนั้นก็เป็นเรื่องที่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More