หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 227
หน้าที่ 227 / 278

สรุปเนื้อหา

งานวิจัยเกี่ยวกับคัมภีร์พุทธโบราณในภูมิภาคคำธาระ เอเชียกลาง และจีนได้ศึกษาการปรากฏของคำว่า "ธรรมภาย" ในคัมภีร์ต่างๆ ผลการวิจัยพบว่ามีการกล่าวถึงธรรมภายในในคัมภีร์โบราณมากมายที่ยังไม่ได้อ่านทั้ง 15 คัมภีร์โดย ดร.ชนิดา และ 4 คัมภีร์หลักโดย ดร.ชัยสิทธิ์ และข้อมูลเพิ่มเติมจากสถาบันพระวิริยะชัย ซึ่งพูดถึงยุคต่างๆ ที่มีการถ่ายทอดคำสอนตั้งแต่ยุคพุทธกาลถึงยุคหินายและมหายาน โดยการสืบค้นข้อมูลยังมีการวิจัยต่อเนื่องเพื่อหาข้อมูลที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้นในอนาคต โดยมีการศึกษาร่องรอยทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนคำสอนในยุคโบราณ.

หัวข้อประเด็น

-หลักฐานธรรมาภายใน
-คัมภีร์พุทธโบราณ
-การวิจัยภูมิภาค
-การศึกษาเกี่ยวกับยุคพุทธกาล
-การแพร่หลายของคัมภีร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน สรุป คำธาระ เอเชียงกลาง และจีน จากงานวิจัยในภูมิภาคคำธาระ เอเชียกลาง และจีน งานวิจัยนี้ตอบปัญหาดังนี้ 1. มีการกล่าวถึง “ธรรมภาย” จริงในคัมภีร์ดังเดิม โดยมีปรากฏในงานที่ ดร.ชนิดาถอดถ่ายจากคัมภีร์โบราณ 15 คัมภีร์ ดร.ชัยสิทธิ์ถ่ายถอดจาก 4 คัมภีร์หลัก พระวิริยะชัยและคณะรวบรวมจากร่องรอยทุติยภูมิเป็นส่วนใหญ่ได้อีก 78 คัมภีร์ ทั้งนี้ยังมีคัมภีร์อีกเป็นจำนวนมากที่ยังไม่ได้อ่าน ซึ่งคณะวิจัยจะได้นิติดตามศึกษาต่อไป คัมภีร์เหล่านี้ มีความเก่า ใหม่ ไม่เท่ากัน การแบ่งยุคของคัมภีร์ทำได้ยากมากเพราะจริงๆ แล้วบางคัมภีร์ไม่สามารถระบุได้อย่างชัดเจน ที่จับต้องได้ว่าอยู่ในสมัยไหนกันแน่น นักวิชาการส่วนใหญจึงใช้การสนับสนุนจนกว่าจะมีร่องรอยที่สมบูรณ์กว่านี้ เท่าที่ร่องรอยสามารถสืบค้นได้ คัมภีร์ที่มีคำว่า “ธรรมภาย” ที่เก่าสุดและสำคัญที่สุดนั้น ในที่อธิษฐานเป็น 3 ช่วงยุคเรียงลำดับดังนี้คือ ยุคพุทธกาล ถึงประมาณ พ.ศ. 300 เป็นช่วงคำสอนดังเดิม เป็นช่วงที่เกือบไม่ปรากฏคัมภีร์ตัวเขียน เพราะการถ่ายทอดใช้วิธีท่องจำและสอนปากเปล่า อาจมีการแกะสลักหรือวาดภาพที่เกี่ยวกับพระพุทธเจ้าในเชิงสัญลักษณ์ ซึ่งในปัจจุบันมีการค้นพบอยู่บ้างแต่ไม่อาจตีความหมายได้ชัดเจน ยุคหินาย และมหายานก่อนขยายความ จาก พ.ศ. 300 ถึงราว พ.ศ. 743 (ปี พ.ศ. 743 เกิดคัมภีร์มัยมิกาของท่านนาคารชุน) เป็นช่วงยุค
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More