การปฏิบัติสมาธิภาวนาในคัมภีร์พุทธโภชน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 167
หน้าที่ 167 / 278

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิบัติสมาธิภาวนาที่เริ่มต้นจากการหยุดจิตที่จุดกลางของร่างกาย และเรียนรู้การเข้าถึงฌานที่ต่างกัน โดยที่ผลของการปฏิบัติจะนำไปสู่อุปจารและสมาธิต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังมีการเรียนรู้ถึงความสำคัญของการรักษาศีลและการสวดบูชาก่อนเริ่มทำสมาธิเพื่อให้เกิดความสงบและความเจริญในกรรมฐาน สามารถศึกษาได้ในคัมภีร์มุตติมูลกัมม์ที่แสดงถึงผลจากสมาธิภาวนาในระดับต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองให้เข้าถึงธรรมที่สูงขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติสมาธิ
-ฌานในภาพ
-การเข้าถึงโลกุตตรธรรม
-ความสำคัญของศีล
-การสวดบูชากรรมฐาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโภชน 1 ฉบับประชาชน การปฏิบัติสมาธิภาวนาให้เริ่มต้นหยุดจิตไว้ที่ศูนย์กลางดวงธรรมที่ให้เกิดเป็นมนุษย์ซึ่งอยู่กลางร่างกายระดับเหนือสะดือขึ้นมาสองนิ้วมือ และกำหนดจิตไว้ที่กลางของกลางดวงนั้นหยุดลึกเข้าไปเรื่อย ๆ ที่จุดเดียวกันไม่เคลื่อนจิตไปตั้งที่ส่วนอื่นๆ ของร่างกาย โดยทั่วไปผลของการปฏิบัติสมาธิภาวนาหลังจากจิตนิ่ง ตัดจากสิ่งกระทบภายนอกแล้วก็จะเกิดมาหรือความหยงรุ่งซึ่งมีสีระดับในวิวชาดธรรมกายกล่าวถึงมานั้นทั้งสีระดับไว้ โดยที่แต่ละมานจะเกิดกับกายแต่ละกายตามลำดับความละเอียดของสมาธิ โดยปฐมบทเกิดได้เมื่อเข้าสู่กายมนุษยลักษณะ เมื่อเข้าสู่กายรูปพรหมมะละเอียด และสำหรับจุตตภูมิเกิดเมื่อเข้าสู่กายอรูปพรหมมะละเอียด ลำดับต่อไปเป็นอรูปพรหมมะ อย่างไรก็ดามานทั้งสี่ยงเป็น “ฌานในภาพ” หรือโลเกียฌาน เมื่อปฏิบัตรสมาธิภาวนาได้สูงขึ้นกว่าชั้นเหล่านั้นก็จะเริ่มเข้าสู่ชั้นโลกุตตรธรรมต่อไป ดังมีโอกาศว่ากล่าวถึงการปฏิบัติสมาธิภาวนาถึงขั้นโลเกียฌานนี้ในคัมภีร์มุตติมูลกัมม์ โดยกล่าวถึงผลจากการปฏิบัติสมาธิภาวนาในระดับต้นนี้ว่า ผู้ปฏิบัติจะได้ปีติ อุตหนิมทิปฏิภาณนิ่ง เกิด อุปจารสมาธิ อัปปนา สมาธิทั้ง 4 อญญา 5 และสมบัติ 8 ก่อนการทำสมาธิภาวนา ผู้ปฏิบัติจงรักษาศีลตามเพศภาวะ และกล่าว “สัมมา” กับพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ กรรมฐานและอาจารย์สอนกรรมฐาน แล้วนั้งที่นั่งตั้งสติให้ตรงต่อกรรมฐานพร้อมด้วยบวสวดบูชากรรมฐาน สวดบูชาพระรัตนตรัยขอพระรัตนตรัย กรรมฐาน และอาจารย์ผู้สอนกรรมฐานเป็นที่พึ่ง ในที่สุดอธิบายของให้ได้รับความสำเร็จในกรรมฐานตั้งใจ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More