ด้วยความมุ่งมั่นนั้นเอง สัพพัญญาณได้เกิดขึ้นแล้วกับเรา พร้อมกันกับธรรมภายที่ได้แล้วเรา”23
4. คัมภีร์สังฆาวาตรสูตร
คัมภีร์สังฆาวาตรนี้ แม้จะเกิดขึ้นในยุคหลังคือรวงพุทธศกตรที่ 9 แล้วก็มีปรัชญาที่กล่าวและครอบคลุมเกี่ยวกับเรื่องของธรรมยานนั้นมีแนวคิดเกี่ยวกับมหาบรุษซึ่งมีชีวิตเป็นอมตะ แม้บริพากษไปแล้วก็ยังทรงดำรงอยู่“ผู้ดูเห็นธรรม ชื่อว่าเห็นเรา” ดังปรากฏในคัมภีร์สุทธรรนปะกาสว่างภยัน์แห่งพุทธะนั้นมีความแข็งแกร่ดุจเพชร ธรรมกายจริงเท่านั้นคือ (กายแห่ง) การต่อสู้และธรรมมาตรคือดภาคต
5. คัมภีร์สัทธรรมลังกาวาตรสูตร
คัมภีร์นี้มีคำว่าธรรมกายปรากฏอยู่แทบจะตลอดทั้งพระสูตร ดังตัวอย่างเช่นคำว่าธรรมกายถูกใช้ควบคุมคำว่า ตกตะ ตกตะตายถูกกล่าวถึงเวลาที่พิธีสัตว์เข้า ถึงสมาธิระดับเข้าใจ “ความเป็นเช่นนั้นเอง” (suchness of things) ของสรรพสิ่ง พระโพธิสัตว์ประกอบด้วยธรรมกายที่มีลักษณะประดุจดั่งวควริน (vasàvardin) ในที่นี้ โพธิสัตว์กำลังนั่งในบัลลังก์ดอกบัวประดับ
_____________________________________________________________________________________
23 Translated by Hoerne, Pargiter and Konow: … this sûtra has been heard by me and approved; and, according to its intention, absolute knowledge (bodhi) has been obtained by me, and with it the absolute body (dharma-kāya) by me has been acquired. (Hoerne, Pargiter, and Konow. 1916: 115)
บทที่ 2 คัมภีร์ เอเชียกลางและจีน | 99