การขยายพุทธศาสนาในยุคหลังพุทธกาล หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 46
หน้าที่ 46 / 278

สรุปเนื้อหา

พุทธศาสนาได้แผ่ขยายไปทั่วโลกในระยะเวลาหลังพุทธกาล 500 ปี ในทิศตะวันตกประสบปัญหาหลายด้าน ทำให้บางส่วนของศาสนาอาจถูกกลบและซ่อนอยู่ ขณะที่ในทิศเหนือยังมีการพิทักษ์รักษา แต่ก็ยังถูกผลกระทบจากกระแสศาสนาอื่น การค้นพบคัมภีร์ในอนาคตช่วยในการทำความเข้าใจพุทธศาสนาในอดีตได้ดียิ่งขึ้น นักปรัชญาชาวเยอรมัน คาร์ล จัสเปอร์ส ได้สร้างแนวคิดเกี่ยวกับยุคแกนหลักของโลกที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว

หัวข้อประเด็น

-การขยายพุทธศาสนา
-อิทธิพลทางศาสนา
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
-การค้นพบคัมภีร์โบราณ
-การศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีในไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พุทธศาสนาหลังพุทธกาลล่วงพันปีร่าว 500 ปี ได้แผ่ขยายไปทั่วทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศตะวันออก ในทิศตะวันตกนั้น แม้ว่าจะได้ขยายไปอย่างเข้มข้นในช่วงแรกๆ ภายหลังต้องเผชิญความกดดันทั้งทางสงคราม การเมือง สังคม และศาสนา หากจะยังมีพระสัมพรรรษรแท้หลงเหลืออยู่ก็จะต้องถูกฝังกลบหลบซ่อน ยากลำบากในการค้นหา ส่วนในทิศเหนือนั้นได้รับความกดดันน้อยกว่า เพราะมีเจ้านครทั้งทิรกและอินเดียพิทักษ์รักษาอยู่ แม้ภายหลังก็มีคลื่นศาสนาอิสลามเข้ามาดุเกาความจนต้องหลบหนี และกลบฝังคัมภิรไร้ ซึ่งอาจมีกลืนเหลืออยู่บ้างตามถ้ำรอยุคเขา และทะเลทรายที่ห่างไกล โดยเมื่อเวลาผ่านไปก็ได้รับการค้นพบคัมภิรเก่าๆ มากขึ้นทำให้ภาพของพระพุทธศาสนาในอดีตกาลคลี่คลาย ส่วนทางอีเชียอาณเยมิคัมภิรเกรีรวา หลงเหลืออยู่มากกว่า ทั้งยังมีมักรีเชีย ชาวเมือง พระธาตุ ปกปักษา ฯลฯ การศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีของไทย ยังไม่มีการวิจัยในเรื่องนี้อย่างจริงจัง พระสัมพรรษรดั้งเดิมยูคพุทธกาลน่าจะยังมีแต่ถูกกลบ หรือถูกทำลายด้วยฝีมือธรรมชาติ เช่น เมืองถล่ม น้ำท่วม ส่วนตามถ้ำและป่าเขายังไม่มีการค้นหาอย่างจริงจัง ในปี พ.ศ. 2492 นักปรัชญาชาวเยอรมันชื่อ คาร์ล จัสเปอร์ส (Karl Jaspers) ได้เข้าสู่ยุคทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยุคนึ่งซึ่งเขาเรียกว่ายุคแกนหลักของโลก (The Axial Age) ซึ่งครอบคลุมกระบวนการทางจิตวิญญาณบนพื้นที่เราเรียกว่า ยูเรเซีย (Eurasia) รว้ก้าวร้อยปีก่อนการประสูติของพระสมณโคดม ดินแดน “ภูมิภาคตอนกลางหนึ่งเดียว” (A Single Central Region) หรือยูเรเซียนี้ มีได้เป็นบ้านป่าเมืองเรือน แต่มีความเจริญด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More