ข้อความต้นฉบับในหน้า
คัมภีร์โบราณกล่าวถึงธรรมกายว่า ธรรมกายนี้เป็นธรรมกายของพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าสามารถ “ถูกพับ” ได้ในนิพพาน (การไปสู่นิพพาน คือการได้พบพระพุทธเจ้า) สรีระของพระพุทธเจ้าประกอบขึ้นด้วยญาณต่างๆ มีกรกล่าวถึง “เมืองนิพพาน” เรื่องของพระพุทธเจ้าหรือกายธรรมนี้มีความคล้ายคลึงกับคัมภีร์กระแสหลักดังเดิมสายสรรเสริญและมหาสังข์กิ ที่เรียกว่ายหมายยุคก่อนขยายความ แต่ก็ลดลงคล้ายกับหมายยุคหลังที่ถูกอรรถภายต่อเติมไปมากแล้วในบางส่วนด้วย
คำว่า ดวงแก้ว และ แสงสว่างภายใน มีปรากฏอยู่รํามาก อาจชี้ให้เห็นถึงการเชื่อมโยงกับคัมภีร์ “ตาตาคตกรรมะ” อันเก่าแก่ ที่ว่าด้วยความบริสุทธิ์ที่เป็นรากเดิมแห่งชีวิตแต่ถูกกลบฝังไว้ด้วยกิเลส คำว่า “ดงแก้วที่ขามา” ชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างดงแก้วกับ “กาย” ภายในมาจากดงสว่างที่บริสุทธิ์ กล่าวอีกนัยหนึ่ง มนุษย์มิติด้านเดิมอันบริสุทธิ์ซึ่งอาจพ้องกับคำศัพท์ “โพธิ” หรืออาจพ้องกับทฤษฎาตาคตภาคเช่นในคัมภีร์ศรีมาลาเทวสูตร เมื่อมาเปิดเปื้อนกับบาปธรรมจึงม่นหมอง แต่งังก็จะมีโพธิในตนก็ยังไม่อาจบรรลุโพธิ่นได้เพราะไม่เคยรู้มาก่อนประกอบกับมีบาปธรรมครอบงำอยู่ต้องปฏิบัติวานสามารถอธิบายเป็นหนทางเดียวที่จะกลับไปสู่จิตดั้งเดิมอันบริสุทธิ์นั้น และหลักการละทิ้งขันธ์ 5 เพื่อเข้าถึงความบริสุทธิ์ก็คล้ายกับหลักการของวาสิฏฐสูตรภาษาคนาฏพรษ 610-620 และสายสรรเสริญทิวาและในคัมภีร์จตุรารักขาก็มีกล่าวถึงธรรมกาย
2. มีการกล่าวถึง การทำสมาธิแบบ “ธรรมกาย” จริงในคัมภีร์โบราณ
การอธิบายถึงธรรมกาย ดูเหมือนจะชัดเจนขึ้นในระดับของความรู้จากสมถวิ ว่าธรรมกายนี้ละเอียดยิ่ง บริสุทธิ์ยิ่ง จะเข้าสู่ได้ก็ต้องชำระกิเลสที่