กรรมฐานในโยคาวจร หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 134
หน้าที่ 134 / 278

สรุปเนื้อหา

นอกเหนือจากกายคตาสติแล้ว ทางโยคาวจรยังมีการบรรยายกรรมฐานอื่น ๆ เช่น มรรคสติ อุปสมานุสติ จตุจตุวัฏฐาน และการใช้ไตรลักษณ์ในการพิจารณากรรมฐานและการปฏิบัติ ที่นำไปสู่ผลของอุคคหนิมิตและปฏิวาทนิมิต โดยทำให้เข้าถึงเนตรและโลกุตตรธรรมสำหรับคาถาในการบริการใช้ว่า "อธิษ" เป็นต้น กายแห่งธรรมะมีความเชื่อมโยงกับการสร้างขึ้นของธรรมชาติและมีคาถาที่เกี่ยวข้องซึ่งพบได้ในดินแดนต่าง ๆ.

หัวข้อประเด็น

-กรรมฐานในโยคาวจร
-มรรคสติ
-อุปสมานุสติ
-ไตรลักษณ์
-ธรรมกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นอกเหนือจากกายคตาสติแล้วทางโยคาวจรยังบรรยายถึงกรรมฐานอื่น ๆ อีก เช่น มรรคสติ อุปสมานุสติ จตุจตุวัฏฐาน อาหารเรภิกข์ สัญญา จนแทบจะครบทั้ง 40 กรรมฐาน แต่เป็นการกล่าวโดยประสงค์จะให้ครอบคลุมประเภทของกรรมฐานให้มากที่สุด ทั้งหมดให้พิจารณาด้วยไตรลักษณ์สัญญา ผลจากการปฏิบัติคือ อุคคหนิมิต และปฏิวาทนิมิต จากนั้นก็เข้าสู่เนตรและโลกุตตรธรรมต่อไป สำหรับคาถาที่ใช้ในการบริการให้สงสารใช้ว่า "อธิษ" เป็นส่วนใหญ่ 1.2.3 ธรรมกายและบุคคลาธิบฐานต่าง ๆ สำหรับกายแห่งธรรมะได้รับว่าไว้บ้าง แต่ไม่ใช่กายธรรมชั้นโลกุตตร กลับเป็นกายที่พระอธิธรรมในความหมายของธรรมชาติเป็นผู้สร้างขึ้น กล่าวคือคำว่าในพระอธธรรมทั้ง 7 ที่ประกอบด้วย ธัมสัมผัส จนถึงมหาปฐพี ฐาน เป็นต้น เป็นผู้สร้างการในครรภ์มารดา ซึ่งอาจคิดความได้แง่มุมหนึ่งว่าร่างแห่งธรรมเกิดขึ้นพร้อมกับร่างของตนตั้งแต่เป็นทารกในครรภ์ และแม้จะไม่ได้ยิ่งคำว่าธรรมกายตรงๆ แต่ก็มีธีรพรพระญาณสถิตธิรนิสันต์กระบูง “ตัวธรรมภายใน” ของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ว่าจะแหม่นหมองหากเกิดความโกรธในใจของพระพุทธองค์หรือพระอรหันต์ตั้งหลายอย่างใดก็ถ้าจามคำว่าธรรมกายมีร่องรอยว่าเป็นที่รู้จักอย่างดีในดินแดนที่ใช้ถ้อยคำธรรมเลยไปถึงพม่า กล่าวอธิบายไว้ด้วยอักษรธรรมล้านนาในคำธีรธรรมกายพร้อมคำอธิบายเป็นภาษาไทยยวน และคำาธรรมกายบทเดียวกันพบในคำธีรธุลิลิสมัยฎฐาน คาถา 40 พระฐานกเสน 44.4
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More