การแพร่กระจายของพุทธศาสนาในเขมร หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 190
หน้าที่ 190 / 278

สรุปเนื้อหา

การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในเขมรตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 3 โดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าศรีมาระราชและพระเจ้าชัยบรมที่ 7 การขยายอิทธิพลของพุทธศาสนาในเขมรมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ และการพัฒนาเป็นศาสนาประจำชาติของกัมพูชาในปัจจุบัน โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 สมัยหลักในประวัติศาสตร์

หัวข้อประเด็น

-การแพร่กระจายของพุทธศาสนา
-พุทธศาสนาในคัมภีร์เขมร
-รัชสมัยของพระเจ้าศรีมาระราช
-พระเจ้าชัยบรมที่ 7
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในกัมพูชา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระปอเหม่า ล้ม (ธมมวุิโต) : "ร้องรอยธรรมกายในคัมภีร์ใบลานภาษาเขมร" (Traces of Dhammakaya Meditation in Khmer Manuscripts) สถาบันพุทธศาสนบันฑิตได้ศึกษาเรื่อง "พุทธศาสนา 2500" แล้วพบว่า พระพุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในคัมภีร์ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 3 และ ได้มาเจริญรุ่งเรื่องในรัฐกาลของพระเจ้าศรีมาระราชพระศตวรรษที่ 7-8 แห่ง พระราชอาณาจักรขุนตัน สืบมาถึงยุคเจนละ จนมาถึงตันพุทธศตวรรษที่ 12 พุทธศาสนามหายานนิคายาอาจเรียวว่าก็เริ่มแพร่เข้ามาในคัมภีร์า แต่ในช่วง แรกนั่นยังไม่ได้รับความนิยมจนมาถึงยุคพระนครแล้วพุทธศาสนามหายานจึง เริ่มเจริญรุ่งเรืองควบคู่กับศาสนาพราหมณ์ และได้เจริญรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยของพระเจ้าชัยบรมที่ 7 รวญ พ.ศ. 1728 ส่วนพุทธศาสนาเรวาทีได้รับ “อยู่ในหมู่ประชาชนเป้นหลัก” จนมาถึงรัชสมัยพระเจ้าศรีนทรวรมัน กลางพุทธ ศตวรรษที่ 19 พุทธศาสนาฝากก็ได้รับการสนับสนุนจากสำนักให้เป็น ศาสนาประจำชาติของคัมพูชาจนถึงปัจจุบัน   พุทธศาสนาในคัมภีร์มีกำทั้งหมด 5 สมัยคือหนึ่ง สมัยแรกดิม พุทธศาสนาได้แพร่เข้ามาในสุวรรณภูมิจากพุทธ ศตวรรษที่ 3 รวญ พ.ศ. 300-500 แล้วได้แพร่เข้ามาในคัมภีร์ช่วงนั้นคัมภีร์มีเมืองหลวงชื่อว่า นครเกาะโกกะโลก สอง สมัยนครพนม หรือฟูนัน พ.ศ. 500-1100 พุทธศาสนาได้รับการ ยอมรับโดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ประชาชนจนมาถึงในรัชสมัยพระเจ้าพุทธ ศรี มาระ พุทธศาสนาได้รับการยกให้เป็นศาสนาประจำชาติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More