ข้อความต้นฉบับในหน้า
ดำไม่ ดังที่พระเทพญาณมหามุนี (ชยบูรณ์ ธมฺมชโย) กล่าวสอนเรื่องว่า "ให้เป็นผู้ดู (observer) ได้เป็นผู้กับหรือผู้แสดง" และดังที่พระมงคลเทพมุนี (สด จนทะสโร) ท่านแปลคำว่า “อนุสสวี” อย่างตรงตัวว่า “เห็นเนื่องๆ” ดังนี้
“อิทธิ ภิกขเว ภิกขุ กาเย ญาณานุสสวี วิหารติ ดูก่อนภิกษุทั้งหลายที่ศึกษา พระธรรมวินัยของพระตถาคเจ้า **เห็นภายในเนื่องๆ** นั้นเป็นไฉนเล่า”
ในขณะทีพระสูตรสอนให้เห็นทุกสิ่งว่าบา่ แต่ในขณะเดียวกันก็ยังคงสอนให้ “หมนั่นละกิถึงพระพทุทรองค์ผู้บูรณัด้วยบุลักณะตั้งร้อย ดงงานน่ำ ทัศนดูภาพทงคำ และลวง่าไลไปทั่วทุกที” “ให้อนอ้นบูชาพระพทุทรเจ้า ทั้งหลาย ทั้งในอดีต อนาคต และปัจจุบัน ด้วยจิตที่เลื่อมใส ด้วยดอกไม้ ของ หอม เครื่องลูบไล้ อาหารและเครื่องดื่ม” หรือ “วาดภาพพระพุทธองค์ขนาดใหญ่ลงบนผ้า ให้บริบูรณ์ด้วยพระลักษณะงดงามงดงามงดงาม มั่นึก” เป็นต้น ซึ่งจะมีอานิสงส์ให้เข้าสู่ “สมาธิ” ได้อย่างง่ายดายด้วย
เมื่อมองในเชิงประวัติศาสตร์ การที่เนื้อหาพระสูตรแสดงถึงความพยายามใกล้เคียงคำสอนของทั้งสองสายดังกล่าวนั้น เป็นการบ่งบอกอยู่ในตัวว่า ก่อนหน้านั้น ต้องมี “การปฏิบัติมาเห็นพระ” และความเชื่อว่าองค์พระนั่นเป็นตัวตนมาก่อนแล้ว ซึ่งพระสูตรนี้รับรองประสบการณ์ในการเห็นพระ แต่สอนให้มองทุกอย่างว่างเปล่าเพื่อความไม่ยึดมั่นถือนั้น ซึ่งตรงกันกับหลักการของวิชชาธรรมกาย ซึ่งรับรองประสบการณ์ในการเห็นพระ แต่สอนว่า “มีอะไรให้ดูดีกไป ดูไปเรื่อยๆ อย่างสบายๆ โดยไม่ต้องคิดอะไรทั้งสิ้น” หรือ “เห็นสักแต่ว่าเห็น” นั่นเอง เพื่อให้ใจไหล่ผ่านประสบการณ์ที่เข้ากับในปัจจุบันเข้าไปสู่ระดับที่ละเอียดยิ่งขึ้น
บทที่ 2 ค้นธาร เอเชียกลางและจีน | 67