หลักฐานธรรมในคัมภีร์พุทธโธราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 39
หน้าที่ 39 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการศึกษาหลักฐานธรรมในคัมภีร์พุทธโธราณ โดยเน้นประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการวิวัฒนาการของนิกายต่างๆ ในพุทธศาสนา ทั้งมหาสังข์และมหายาน รวมถึงความแตกต่างในคำสอนและแนวคิดทางธรรมที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ จากหินยานสู่มหายาน ซึ่งมีการแยกตัวและพัฒนาความเชื่อที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ ยังพูดถึงปัญหาในการจำแนกนิกายที่ไม่ชัดเจนและการรักษาพุทธวจนะที่มีที่มาจากหลายกลุ่ม

หัวข้อประเด็น

-หลักฐานธรรมในคัมภีร์พุทธโธราณ
-พุทธศาสนาและนิกาย
-วิวัฒนาการของมหายาน
-บทบาทของมหาสังข์
-ความแตกต่างระหว่างหินยานและมหายาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโธราณ 1 ฉบับประชาชน สายบาลัย (ฝ่ายใต้) ว่ากันว่า ร้อยปีหลังพุทธปรินิพพาน เหล่าภิกษุ ชีนนุตรผู้ย่อมในพระธรรมวินัย นำเสนอให้พ่อนปรนพระวินัยบางข้อ จึงเกิดการสั่งคายานครั้งที่ 2 ซึ่งภิกษุว่าชิบุตรได้แยกตัวออกไปเป็นกลุ่ม ต่างหาก และเนื่องจากเป็นกลุ่มใหญ่กว่า จึงเรียกว่า “มหาสังข์” ส่วนฝ่าย ออร์โธดอกซ์ (orthodox) เรียกตนเองว่า “เธรวาส” แปลว่า “ผู้ทำตาม คำสอนของพระเถระ” ส่วนสายสันกถกุต (ฝ่ายเหนือ) ว่ากันว่า หลังจากที่สั่งคายานครั้งแรก แล้วเสร็จ พระภิษุชื่อปรมัฏฐ์กลับจากต่างถิ่นไม่รับรองเนื้อหาพุทธวจนะ ที่สั่งคายนั้น บอกว่าตนจะรักษาพุทธวจนะไว้ตามที่ตนได้ยิน มีภิกษุจำนวนหนึ่งนไปด้วยกัน ตั้งเป็นกลุ่มต่างหากที่เรียกว่า “มหาสังข์” ส่วนกลุ่มที่ ยอมรับเนื้อหาจากการสั่งคายานนั้น เรียกว่า “สถิรวาส” แปลว่า “ผู้ที่ยอมรับ” คำสอนของพระเถระ ซึ่งตรงกับคำว่า “เธรวาส” ในภายบาลีนี้เอง มหายาน ยังไม่มีเกณฑ์ที่ชัดเจนที่จะระบุเส้นแบ่งระหว่างหินยานกับมหายาน แต่อย่าลืมว่าในระดับหนึ่ง(หรือเชื่อกันว่า) มหายานเริ่มก่อตัวขึ้น เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 5 โดยเป็นคณะสงฆ์ที่มีความเห็นต่างจากนิกายนเดิม ที่อยู่ 18-20 นิกายนในขณะนั้น ทั้งนี้ ต้นกระแสของมหายานก็ คือ มหาสังข์ และสรรควาสติวาท ซึ่ง ก็เป็นหนึ่งใน 18 หรือ 20 นิกายนดังเดิม ดังนั้นคำสอนบางอย่างของมหายานก็ นำมาจากคำสอนของมหาสังข์กลุ่มนั้นเอง ส่วนปัญหาในเชิงประวัติศาสตร์อยู่ ตรงที่เส้นแบ่งระหว่างมหาสงข์กับมหายานนั้นไม่เคยถูกขีดได้อย่างชัดเจน เลย ดังนั้นคำสอนบางอย่างจึงบอกไม่ได้ว่าเป็นของมหายานเองหรือว่าเป็นของ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More