ประวัติศาสตร์อินเดียยุคโบราณและความสัมพันธ์กับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 120
หน้าที่ 120 / 278

สรุปเนื้อหา

ในยุคโบราณ อินเดียเต็มไปด้วยชนเผ่าเร่ร่อนและสงครามครั้งใหญ่ อาณาจักร Guru Kingdom เป็นศูนย์กลางอำนาจในช่วง 1200 ถึง 800 ปีก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าจันทรุปต์ได้สร้างแคว้นมครในประมาณ 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช และกษัตริย์พิมพิราสก็มีบทบาทสำคัญในพุทธศาสนา ขณะเดียวกัน ประเทศไทยมีชุมชนเมืองอย่างมอญ เขมร และละว้า ตั้งอยู่ตั้งแต่ยุคโลหะ และยังมีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศด้วย แม้ว่าจะยังไม่รวมกันเป็นอาณาจักรที่แข็งแกร่งแต่ก็มีอาร文明ที่พัฒนา เช่น อารยธรรมลุ่มน้ำอจริวดี ที่คนเดียวกับนี้ประสบความสำเร็จในการเข้าไปสัมพันธ์กับคนพื้นเมือง จนส่งผลต่อการพัฒนาของภูมิภาค

หัวข้อประเด็น

-ชนเผ่าเร่ร่อนในอินเดีย
-สงครามกรุงเกษตร
-อาณาจักรGuru
-อาณาจักรโมริยะ
-ความสัมพันธ์กับประเทศไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

อินเดียยุคโบราณเต็มไปด้วยชนเผ่าเร่ร่อน ซึ่งต่อมาเริ่มไหลไปทุกทิศ หัวหน้าเผ่าและเจ้าผู้ครองนครทำสงครามกันครั้งแล้วครั้งเล่าในอินเดียสงครามครั้งใหญ่ที่สุดคือสงครามกรุงเกษตรแห่งมหาการยุทธ นักประวัติศาสตร์คาด คะเนว่าเกิดขึ้นในยุคเหล็กของอินเดียราว 1000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเวลานั้นอาณาจักร Guru Kingdom เป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองระหว่าง 1200 ปี ถึง 800 ปี ก่อนคริสต์ศักราช รัฐศาสตร์อันเดียบอกว่าพวกอารยันเคลื่อนย้ายจากวิเทหะและมครใป้สมัยเมื่อจนมาแล้วตั้งแต่ก่อนเมืองชายฝั่งเบงกออยู่เป็นป่า พระเจ้าจันทรุปต์สร้างแคว้นมครขึ้นมาตั้งแต่ 400 ปี ก่อนคริสต์ศักราช อาณาจักรโมริยะของพระองค์ครอบคลุมเบงกอลเหนือทั้งหมด ส่วนกษัตริย์แคว้นมครที่เกี่ยวกับพุทธศาสนโดยตรงคือ พระเจ้าพิมพิราส ซึ่งมีพระชนมายู่ระหว่าง 558-491 ปี ก่อนคริสต์ศักราช สำหรับในประเทศไทย นักโบราณคดีเชื่อว่าชุมชนเมืองเก่า มอญ เขมร ละว้า กระจัดกระจายอยู่ในแถบนี้ตั้งแต่ยุคโลหะ มีอาชีพปลูกข้าว ตีเหล็ก เลี้ยงสัตว์ ค่อยๆ ขยายตัวจากกัดตะวันตกตามชายฝั่ง แล้วค่อยเคลื่อนในแกมบูมแม่น้ำในภาคกลางของประเทศ คนเหล่านี้เป็นคนพื้นเมืองที่อยู่อาศัยมานานก่อนคลื่นอพยพของคนต่างถิ่น และสร้างบ้านเมืองที่มีความเจริญพอสมควร มีการทำการค้ากับต่างชาติแต่กระจายเป็นชุมชนอย่างน้อยๆ ยังไม่ได้รวมกันเป็นอาณาจักรที่แข็งแกร่ง จึงอยู่ภายใต้การยึดครองของผู้อพยพจากที่อื่นได้โดยง่าย ในลักษณะของผังซึ่งก็มีอารยธรรมเช่นกันได้แก่ อารยธรรมลุ่มน้ำอจริวดี และสะโตง เป็นต้น กลุ่มผู้อพยพจากอินเดียได้เดินทางเข้ามายุคเริ่มแรก และมาสัมพันธ์กับคนพื้นเมือง ความที่เป็นผู้มีความรู้และพลังการทหารมากกว่าจึงสามารถ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More