ข้อความต้นฉบับในหน้า
ดังกกล่าวไม่ใช่ธรรมกาย ข้อความระบุไว้ชัดเจนว่าเป็นนิมิตพระพุทธรูป ซึ่งภาษาไทยยวนเรียกพระพุทธรูปว่าพระเจ้าแต่ผู้ปฏิบัติต้องระลึกถึงธรรมกายอันเป็นพระคุณอย่างหนึ่งแห่งขณะภาวนาด้วยวิธีนี้ ส่วนลักษณะของธรรมกายปรากฏอยู่ท้ายคำมีรัศมีพุ่งสะบัดอยู่ในรูปคาถาธรรมกาย
One คำแปลซึ่งสอดคล้องกันในเรื่องขอความดังกล่าวขยายคำบาลี คือความเป็น อนุตตโร ของพระพุทธเจ้า ซึ่งภาษาไทยยวนที่เป็นขยายได้กล่าวเฉพาะรูปายนภายในของพระพุทธเจ้า โดยได้ครอบคลุมมหาปรุสภักษะ 32 ประการ และอนุปุญชนะ 80 ประการไว้ด้วย
1.1.4 คาถาธรรมกาย
คาถาธรรมกาย กล่าวถึงสัจจะของพระพุทธเจ้าว่าประกอบขึ้นด้วยญาณต่างๆ เช่น พระสัพพัญญาณคือพระเสิร์ย ทิพโพสัญญาคือพระโสด โครธรัญญาคือพระนิจ ทหพลญาณคือส่วนกลางพระวรกาย อิทธิบานญาณคือพระบาท เป็นต้น ซึ่งกล่าวได้ว่าธรรมกายในคาถาเป็นธรรมกายของพระพุทธเจ้าและการหายจากอาการไม่ปรกติต่างๆ ด้วยดขพุทธเจ้า ทั้งมวลอ่อนหมายความว่าธรรมกายเป็นพุทธคุณเป็นสิ่งที่ในพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และข้อมูลจากคัมภีร์ อุปปาตสัมปทิธิธรรมกายสามารถเห็นได้ด้วยปัญญาใตตาสัญญาไป
นอกจากมีข้อความประกะหนึ่งซึ่งเป็นสาระในปะโยคที่ว่า “ให้หวังพระเจ้าในตนเสียก่อน”, “ขอขมาสัง จิม พระเจ้าในตน”, ซึ่ง