ที่มาของคาถาพระธรรมกาย หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 180
หน้าที่ 180 / 278

สรุปเนื้อหา

ที่มาของคาถาพระธรรมกายมีการค้นคว้าในคัมภีร์บัลโนรบโรณี พบว่ามีบันทึกในอรรถถกของอัฏฐินิปาย ซึ่งเสนอข้อมูลเกี่ยวกับพระสากตเถระที่เคยกล่าวไว้ ผนวกถึงการแสดงพลังโดยเตโชตสุกุลคาถานี้มีความสำคัญในประวัติศาสตร์และวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา หากต้องการศึกษาเพิ่มเติมสามารถดูได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-คาถาพระธรรมกาย
-พระสากตเถระ
-อรรถถก
-คัมภีร์บัลโนรบโรณี
-ธรรมกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทศพลญาณ ปฏิจกสมุปปาปญาณ อินทรีย์ ๕ (และ) พล ๕ สัมมัปปมาณ ๔ กุศลกรรมบถ ๑๐ อิทธิบาท ๔ ศีล สมาธิ ปัญญา อภิญญา อธิษฐานัปปะ อุฏฐงค์มรรคญาณ สติปัฏฐาน ๔ ส่วนของพระวจภาย กลางพระวจภาย พระนาฏี บัณฑพระองค์ พระอรฺุ พระชงฆ์ สงฆภู จีวร ขันธ์พิ อันตรวาสก รัศมี 1.2 ที่มาของ “คาถาพระธรรมกาย” จากการค้นคว้าที่มาของคาถาบาลี่กำลังศึกษายู่ พบว่ามืออยู่ในคัมภีร์บัลโนรบโรณี อันเป็นอรรถถกาของอัฏฐินิปาย โดยปรากฏอยู่ในส่วนเอกนิบาต เอตัคคะ วรคที่ 4 พระสูตรที่ 10 ประวัติพระสากตเถระผู้เป็นเอตัคคะทางเตโชตสุกล เป็นคาถาที่พระสากตเถระกล่าวให้พญานาคคู่ร้ายผู้ด้อยสวยอยู่ใกล้ท่าข้ามเมืองโกสัมพีง หลังจากพระสากตเถระมานำให้ละหยดด้วยเตโชตสุกุล อย่างไรก็ดีตามคาถานี้ปรากฏเฉพาะในอรรถกถา บับสังในอรรถถกนบัค สยามรัฐและฉบับพม่าแต่ไม่พบในฉบับสิขหา เนื้อความที่ปรากฏในอรรถถก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More