หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโธปกรณ์ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 165
หน้าที่ 165 / 278

สรุปเนื้อหา

ในคัมภีร์พุทธโธปกรณ์ได้กล่าวถึงความสำคัญของการปฏิบัติธรรมแม้จะมีสิ่งล้ำค่าใดๆ ก็ไม่สามารถมาทดแทนได้ การบริกรรมภาวนา เช่น คำว่า 'สมฺมอรหํ' และ 'อรหํ' ใช้เพื่อให้จิตมีสมาธิเพื่อพัฒนากายจิตปัญญา การบริกรรมมิดก็ช่วยให้จิตสงบอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ปฏิบัติได้เข้าถึงความเจริญทางธรรม

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรม
-บริกรรมภาวนา
-ความสำคัญของจิต
-วิชชาธรรมกาย
-การพัฒนาจิตและปัญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโธปกรณ์ 1 ฉบับประชาชน ส่วนทางโควาวจรกล่าวให้ความสำคัญของคำสอนทางปฏิบัติว่าแม้จะเอาเงินทองทรัพย์สินมหาศาลมาตอบแทนเป็นคำ "บอกหนทางมรรคสี่ผลสี่" ก็ไม่เป็นสิ่งที่จะทำได้ 2.2.1 ความเหมือนในการปฏิบัติ 2.2.1.1 บริกรรมภาวนา ในการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อให้จิตนิ่งไม่ชัดสาย อาจใช้บริกรรมภาวนาช่วยในการทำให้จิตไม่ว่างไปริดฟุ้งซ่านถึงเรื่องอื่นๆในวิชชาธรรมกาย พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) กำหนดให้ใช้คำบาลีสำหรับบริกรรมภาวนาว่า “สมฺมอรหํ” ส่วนในโควาวจรกำหนดให้ใช้คำบาลีว่า “อรหํ” ซึ่งไม่ได้ต่างกันในความหมาย อรหํโดยศัพท์แล้วอธิบายถึงผู้ที่เจริญแล้วด้วยกายศีล จิต และปัญญาซึ่งเป็นที่เข้าใจและยอมรับได้ของผู้ปฏิบัติ จึงเป็นปรกติที่ทั้งสองฝ่ายจะเลือกบริกรรมภาวนานี้ร่วมกัน ด้วยจุดประสงค์ที่จะไปสู่ความเป็นผู้เจริญแล้วด้วยกาย จิต และปัญญาของตนเอง 2.2.1.2 บริกรรมม remembrance อาจใช้บริกรรมมิดประกอบกับบริกรรมภาวนาใน การช่วยให้จิตนิ่งไม่วอกแวก วิชชาธรรมกายกำหนดให้ใช้บริกรรมมิดเป็นดวงแก้วหรือตวงเพชรใส่สร้อยเป็นทรงกลมไม่มีมลทิน “เหมือนกับเพชรลูกที่เจียระไนแล้ว ไม่มีแมวโตเท่าแก้วตา” ส่วนโควาวจรเมื่อปฏิบัติก็ยึด ชั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More