โภชนสัตว์และธรรมกาย หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับประชาชน หน้า 102
หน้าที่ 102 / 278

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับโภชนสัตว์ที่มีธรรมเป็นกายว่าไม่ต้องอาศัยข้าวและน้ำในการหล่อเลี้ยงร่างกาย โดยการปรับตัวของโภชนสัตว์กับอาหารเกิดจากมหากรุณา เพื่อประโยชน์ต่อสรรพสัตว์ และการก้าวขึ้นสู่สภาแห่งธรรมกายและสมาธิ ในบทที่สองพูดถึงตกภาคตรรรษที่แสดงถึงสรรพสัตว์ ซึ่งเปรียบเสมือนดอกบัวและยืนยันว่าสรรพสัตว์มีสถานะเป็นไปอยู่เสมอ

หัวข้อประเด็น

-โภชนสัตว์
-ธรรมกาย
-พระสูตร
-ตกภาคตรรรษ
-สรรพสัตว์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

6. โภชนสัตว์ปฏิกูลสูตร และข้อรว่าจักปรัษญาปรดิตา26 บทที่ 9 ในหัวข้อแพทย์แห่งธรรม และธรรมกายของโภชนสัตว์มีความว่า "สารีบุตร กายของโภชนสัตว์ผู้มีธรรมเป็นกายไม่จำต้องได้ รับการหล่อเลี้ยงจากข้าวและน้ำ เขาผู้นั้นไม่จำต้องบริโภคข้าวแม้ เพียงเล็กน้อย แต่เขาปรับตัวกับการหล่อเลี้ยงด้วยอาหาร ก็เพราะ อาศัยมหากรุณาต่อสรรพสัตว์ทั้งหลาย แต่แม้เขาจะบริโภคอาหาร หยาบ เขาก็ไม่นำออกหรือเข้าในร่างกาย ทั้งนี้เพราะไม่มี การสุขายหรือสูญเสียไปซึ่งกำลัง(พล)ของธรรมกายเลย27" และยังกล่าวถึงความเพียวที่จะปลดปล่อยสรรพสัตว์ทั้งหลายในจักรวาล รวมถึงสมอิ้นเป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อผู้อื่นอันจะนำให้โภชนสัตว์นั้นก้าวขึ้นสู่ สภาแห่งการได้ครอบครองธรรมกายจึงได้ชื่อว่าเข้าถิงสมาธินี้ แสดงว่าโพธิสัตว์ ผู้ประกอบไปด้วยธรรมกายเท่านั้นจึงจะทำหน้าที่ในการช่วยเหลือสรรพสัตว์ได้ 7. ตกภาคตรรรษสูตร ฉบับโบราณน่าจะมีอายุในช่วงพุทธศตรวรรษที่ 8-9 จัดเป็นพระสูตร ขนาดสั้น แสดงถึงสรรพสัตว์ทั้งหลายว่มีตกภาคอยู่ใน และไม่ว่าพุทธะ จะบังเกิดขึ้นหรือไม่ก็ตาม ตกภาคตรรรษของสัตว์ก็มิจะดำรงอยู่ตลอด ไปและไม่เปลี่ยนแปลง เช่นนี้แล้วสรรพสัตว์จึงเปรียบเสมือนดอกบัวซึ่งแต่ละ _____________________________ 26 The Schoyen Collection Vol. III 27 Braarvig and Pagel. 2006: 82 บทที่ 2 คันธาระ เอเชียกลางและจีน l 101
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More