ข้อความต้นฉบับในหน้า
ชักชวนซ้ำแล้วซ้ำเล่า เพื่อเติมพลังกระตุ้นกิเลสในใจของคนดีให้โหมกระพือขึ้นอีก จนสัมมาทิฏฐิในใจของ
เขาต้านทานไม่ไหว ด้วยวิธีการนี้เองคุณสมบัติของคนดีที่เคยมีอยู่อย่างมั่นคงในจิตใจของคนเรา ก็จะแปร
เปลี่ยนไปเป็นมิจฉาทิฏฐิทีละน้อยๆ
หากไม่ได้กัลยาณมิตรท่านอื่นเข้ามาช่วยไว้คนที่เคยดีก็อาจหมดดีเอาง่ายๆ
เพราะเหตุนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงเห็นว่า การตรัสสอนแต่เพียงลักษณะนิสัยของ
มิตรเทียม และมิตรแท้เท่านั้น ก็ยังไม่เพียงพอสำหรับปุถุชนผู้มีอวิชชาอยู่ในจิตใจ ย่อมจะยังไม่สามารถ
แยกแยะมิตรเทียม และมิตรแท้ได้อย่างเด็ดขาด น่าจะต้องมีรายละเอียดที่เป็นกฎเกณฑ์เพิ่มขึ้นอีก
3.3.1 เครื่องมือค้นหามิตร
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณสุดจะนับจะประมาณมิได้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงได้ตรัสแสดง
พฤติกรรมของมิตรเทียม และมิตรแท้เพื่อใช้เป็นข้อสังเกตและเป็นกฎเกณฑ์สำหรับเลือกคบหาสมาคมกับผู้คน
หรือจะเรียกว่าเป็นเครื่องมือสำหรับ ค้นหาว่าใครเป็นมิตรเทียม ใครเป็นมิตรแท้ ก็คงจะได้ แต่ในที่นี้จะขอ
เรียกเครื่องมือนี้ว่า “ตะแกรงกายสิทธิ์” ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 4 ใบๆ ละ 4 ช่อง สำหรับร่อนทิ้งคนพาลหรือมิตร
เทียม และอีก 4 ใบๆ ละ 4 ช่อง สำหรับร่อนหาคนดีหรือมิตรแท้ ซึ่งอาจแสดงได้ด้วยตารางต่อไปนี้
กลุ่มที่ ลักษณะนิสัย
1
2
1
คนปอกลอก คิดเอาแต่ได้ เสียให้น้อย
พฤติกรรม
3
4
ตัวมีภัยจึงช่วยคบเพื่อนเพราะ
ฝ่ายเดียว คิดเอาให้มาก ทำกิจของเพื่อน เห็นแก่
ประโยชน์ตน
มิตรมีอุปการะ เพื่อนประมาท เพื่อนประมาท เป็นที่พึ่งให้ เพื่อนมีกิจ
ช่วยรักษาเพื่อน ช่วยรักษาทรัพย์ เพื่อนยามมีภัย จําเป็นออก
สินของเพื่อน
ทรัพย์ให้เกิน
กว่าที่ขอ
99
คนดีแต่พูด
2
อ้างเอาเรื่องที่อ้างเอาเรื่องที่ สงเคราะห์ด้วย หาเหตุปฏิเสธ
ผ่านไปแล้ว ยังไม่เกิด สิ่งที่ไม่มี เมื่อเพื่อนขอ
มาปราศรัย มาปราศรัย
ประโยชน์ ความช่วยเหลือ
มิตรร่วมทุกข์ บอกความลับ
ปิดความลับ
เมื่อเพื่อนมีภัย แม้ชีวิต
ร่วมสุข
ของตนแก่เพื่อนของเพื่อน
ไม่ละทิ้ง
ก็สละให้ได้
120 DOU สูตรสำเร็จ การพัฒนาสังคมโลก