อันตรคาถรรมนวาแปล อันตรคาถาธรรมบทแปล ภาค 1-8  หน้า 78
หน้าที่ 78 / 278

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการตีความรอยเท้าของพระพุทธเจ้าโดยใช้บริบทของความเชื่อและปรัชญาของพราหมณ์ ตลอดจนการสนทนาเกี่ยวกับความหมายและการตีความรอยเท้าที่แตกต่างกัน ในที่สุดแสดงให้เห็นถึงความสำคัญและความซับซ้อนของการตีความในบริบททางศาสนาและวัฒนธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การตีความรอยเท้า
-ความเชื่อทางศาสนา
-บทสนทนาระหว่างพราหมณ์
-ปรัชญา
-การศึกษาศาสนาพุทธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 3-1 - อันตรคาถรรมนวาแปล - หน้าที่ 75 มุทพุสสุ โสดิ ออกฤทธิ์ ปีน รอยเท้าของบุคคลสูงโมหริต ต้อง เป็นรอยเท้าที่นับปลายเท้า วิทวุอุทนุสุ อิทธิภิสิทธิ์ ปีน. แต่อร่อยเท้านี้ ต้องเป็นรอยเท้า ของบุคคลผูมีกเสดจุดลังก้อน เปิดแล้ว ( จิงจะถูก ). เมื่อมายามคับทิพย์ราหมณ์มณี ทายลักษณะรอยพระบาท ของ สมเด็จพระพุทธองค์ว่า ไม่ใช่รอยเท้าแห่งบุคคลผูมีกเสดของนั่นแล้ว มาค้นทิพย์ราหมณ์ก็โกรธว่าควร มณีของเจ้าไม่ควรมิปลอมเสียง เรียบ เหมือนจะเข่าขึ้นอยู่ในดุ่ม หรือเหมือนใจที่ถูกมัดอยู่กลางเรือน เจ้านิ่ง เสียเถิด นางพราหมณ์ก็เถียงบ้างว่า แกอยากจะพูดอย่างไร ก็พูดเอา ตามใจอย่างนั้นสิ แต่ฉันไม่ใช่รอยเท้าของผู้มีกเสดเครื่องเสพบญญากุญแจ เป็นแท้ มาค้นทิพย์ราหมณ์หาใครชื่อคำของนางพราหมณ์ไม่มี หวังอยู่ แต่จะเอาสมเด็จพระพุทธองค์มาเป็นลูกเขยเท่านั้น ทอดสายตามให้เหลียวไป แลมา ทั้งข้างโน้นและข้างนี้ พมมเด็จพระบรมศาสดาเข้าแล้ว ก็จะคิด นางพราหมณ์ผู้ทรงว่า นี่แม่ชายคนนั้น แล้วดึกเข้าไปในฝา กราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณะ ข้าพเจ้าขอถอดใจให้เท่านั้น เพื่อให้ลิ้งดูคัน พระองค์ ก็มีได้ตรัสว่า เราต้องการฐาของท่าน หรือไม่ต้องการมิรัส ตรัส ไปเสียอย่างอื่นว่า พรมหันต์! เรายบอกเหตุแก่ท่านสักอย่างหนึ่ง คือ เมื่อครั้งรัตตรัสรับแล้วใหม่ ๆ ถูกลูกสาวพระยามร ๑ นาง คือ นาง ดันทนา นางอรดี มาประลำประโลมด้วยท่าด่าง ๆ แต่งเป็น หญิงเด็กก็มี เป็นหญิงรุ่นสาวก็มี เป็นหญิงสาวใหญ่หน่อยก็มี เป็นหญิง เคยมีลูกก็มี ส่วนแต่องามงาม ๆ ให้เลือกเอาดตามชอบใจ ต่างก็ชอบเป็น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More