ความมั่นน้อยเป็นทรัพย์ อันตรคาถาธรรมบทแปล ภาค 1-8  หน้า 98
หน้าที่ 98 / 278

สรุปเนื้อหา

ในเรื่องนี้เล่าเรื่องของพระโพธิสัตว์ในร่างนกแกะเต่าที่อาศัยในป่าใกล้แม่น้ำ เมื่อพบว่าสิ่งของที่มีอยู่มีน้อย จึงเรียนรู้ที่จะพอใจในสิ่งที่มี ไม่แสวงหาสิ่งอื่นจนเดือดร้อนใจ พระองค์ได้สอนว่าความมั่นน้อย หรือการพอใจในสิ่งน้อยนั้นสามารถนำไปสู่ความสุขมากมาย และยังได้ยกตัวอย่างนกแกะเต่าที่ไม่พยายามแสวงหาสิ่งอื่น ถือเป็นบทเรียนที่สอนให้เห็นคุณค่าของความพอเพียง นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงการได้รับพรจากพระอินทร์และพรที่ให้กับพระอานกแก่นั้นอีกด้วย

หัวข้อประเด็น

-ความมั่นน้อย
-พระโพธิสัตว์
-ความสุข
-การพอใจในสิ่งที่มี
-ปรัชญาชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 3 - อันตราคามรรามาแปล - หน้าที่ 95 [ จุดสวุวชาชาดก ] ในอดีตกาล ยังมีเขาแกะเต่ผุดหนึ่ง ประมาณหลายพันตัว อาศัยอยู่ในป่าในมะเดือนหนึ่ง ใกล้ฝั่งแม่น้ำกอง ในหินวันประเทศ สมัยนั้น พระโพธิสัตว์ สววะพระชาตเป็นพระอรหันต์แกะเต่า อยู่ในฝูงนกแกะเต่านั้น เมื่ผลไม้ของต้นไม้ที่คนจับอาศัยอยู่หมดสิ้นแล้ว จึงไดาที่จะมีเหลือ จะเป็นหน่อใบหรือปลี้กก็ตามๆ ที่กินแต่ส่งนั้น แล้วไปดื่มน้ำมันน้ำกอง เป็นนกมั่นน้อยในตัว มันไม่ได้ไปเที่ยวหาเหยื่อทางอื่นเลย ความมั่นน้อยลั่นโดยนี้ เป็นคุณเครื่องทำใจให้สบาย มองอะไรใช้ อย่างนั้น มืออย่างไรกินอย่างนั้น ไม่ต้องเดือดร้อนใจ มีน้อยใช้นำมันน้อย เพราะความทะมะหยอทานหาไม่ได้นั้นเอง จึงเป็นสุข ถึงมีทรัพย์น้อยก็ปรกฤเหมือนมีทรัพย์มาก เพราะพอใช้พอสวย ไม่ทำความผิดเคืองในใจ เหตุนี้ สมเด็พระบรมศาสดาจึงได้ตรัสว่า “ สนุกอิจิ ปรม ธน ” แปลว่า “ ความมั่นน้อยเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง ” คำความมั่นน้อยลั่นโดยนี้ ที่บอกทำให้จริง ๆ มีคุณภาพไม่ใช่เล่น เช่นพระยานกแกะเต่า ประกุติมนัยอันดีงาม ๆ ทุบกินดอกไม้จะไม่เหมือนแห้งเกาะ ม ได้ ไปแสวงหาหย่อทองอื่น ทำมั่นน้อยลั่นโดยด้วยน้ำใจจริง ๆ จริง ๆ ไม่ใช่แก่งทำ เช่นพระยานกแกะแต้เป็นเหตุถึงพระอินทร์ต้องร้อนอสน ต้องลงมาลองใจพระยานกแกะแต้ด้วยประกายต่าง ๆ ผลที่สุดได้ประทานพร ทำต้นมะเขือที่หลี่อใล่ให้กลายเป็นต้นไม้ไม่มีผลไม่มีวัว ให้แก่พระอานกแก่นั่น แต่ก่อนเมื่อจะมาอีกทักปราศรัยกัน ได้กล่าวคาถานี้ว่า:-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More