การเป็นต้นดีในความกลัว อันตรคาถาธรรมบทแปล ภาค 1-8  หน้า 17
หน้าที่ 17 / 278

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงแนวทางการกลัวและการแสดงความกล้าหาญในใจของคนหนึ่ง เน้นว่าการปลดใจจากอุปาทาน และการไม่เกี่ยวข้องกับคนพาลจะทำให้ท่านไม่รู้สึกกลัว แม้ว่าจะต้องอยู่ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก และบอกเล่าถึงการสนทนาระหว่างท้าวสักกเทวราชและพระอุปาลเถระในเรื่องของการรักษาความดีในใจ การเผชิญกับอุปสรรคและการเป็นแบบอย่างที่ดีในชีวิต ตลอดจนความสำคัญของการเลือกคบหาสมาคม

หัวข้อประเด็น

-การเป็นต้นดี
-การเผชิญกับความกลัว
-การปลดใจจากอุปาทาน
-การไม่เกี่ยวข้องกับคนพาล
-ความหมายของการกรรมดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 14 ชราพยายามเป็นต้นดี ภัยอันประจักษ์แก่ตัวเช่นช้างผ่าเสื้อผ้าอ้อม รับอ่อนก็ดี ในภายหลังนี้ ท่านมได้วันเพราะท่านเป็น " อฏฺโฏโย " ถึงเหตุนี้ที่ตั้งแห่งความกลัวอย่างอื่น ๆ อันเป็นวิชาที่ปฐมจะพิกลั กัน ท่านยอมไม่กลัว เพราะถอดตนหาอุปาทานหมดแล้ว แม่นท่านจะ ลำบากสรีรกายสักเท่าใด แต่淡ในใจของท่านหากุไม่ เหตุนี้ ท่าน จึงไม่ออกไปบ่นนาปลีก ผู้กินศีลวิบัติ เมื่อครั้งตั้งอยู่ในสามเณรภาวะ อันเชื่อว่าเป็นคนลามกคตอยู่ในความเป็นพาล ความเป็นสหายไม่มีในชน พาล ท่านปลดใจเห็นความดังนี้ จึงไม่ยอมเกี่ยวข้องกับคนพาล แม้ จะตายอยู่กลางป่า ก็ว่า จึงต้องนั่งอยู่แต่คี่เดียว ขณะนั้นท้าวสักกเทวราช ทรงดำริว่า ถ้าจำไม่ไปสูนำนัก ของพระผู้เป็นเจ้านับปะ ผู้อื่นเทวนาคในธรรม เห็นปะ นั้น ศีรษะของเราก็จะแตกเป็น ๓ เสียง จำเราก็ต้องไปสู่นักของ ท่าน ครับทรงเทวาก็คุ้นนี้แล้วสักใด ๆ เหตุนี้ พระโบราณาจารย์ ทั้งหลาย จึงได้กล่าวว่า:- [๑] สหสุคนตโต ทวิปนฺโท ท้าวสุหสสนตร์ ผู้เป็นออมเทพพา ทรวงสรรเสริญ ทรงสร้อยด้วยความเป็นเทวราช ตนมัง อตฺถุตา เสด็จมาโดยชนแล้ว อญฺญุปาถ อุปาคมฺ เข้ไปใกล้พระอุปาลเถระ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More