ปรโยค ๓ - อันคราคธรรมบทแปล อันตรคาถาธรรมบทแปล ภาค 1-8  หน้า 217
หน้าที่ 217 / 278

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการมีสติในชีวิต ปรุงรสด้วยเนื้อหาที่มีความเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรมและการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข จากตัวอย่างการสอนของท้าวสักกะที่สะท้อนให้เห็นถึงการใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า ในส่วนนี้ยังบรรยายถึงผลของการมีสติในเรื่องอาหารและความเจ็บปวดทางกายภาพ ซึ่งสามารถนำไปสู่การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุข โดยมีการนำเสนออุบายนที่น่าสนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงจากความแก่สู่ความหนุ่ม.

หัวข้อประเด็น

-การมีสติ
-การใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
-เรื่องราวเกี่ยวกับท้าวสักกะ
-การปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน
-อายุยืนและความเจ็บปวด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรโยค ๓ - อันคราคธรรมบทแปล - หน้าที่ 214 ปุนปุนัน คพุมณ์ปิติ มนฺโต. ชัดใหมัน ต้องเข้าห้องบ่อย ๆ มนุษฐสุข สภา สติปฺโต. เมื่อคนมีสติสม มุตฺต ชานโต ลาภโภชน. รู้จักประมาณในอาหารที่ได้แล้ว ตนกูลสุข วนฺนติ เวทนา. ความเจ็บป่วงของเขาน้อย สฤณิก ชีวิต อายุปปลาย. ค่อย ๆ แก่ อายุยืน ๕๕. เรื่องท้าวสักกะ มีเรื่องเล่าว่า ครั้งสมเด็จพระศากรประทับอยู่ที่บ้านพญามวาด ปลายอายุสิขารแล้วประชอาเฉินพระโลหิต ท้าวสักกเทวราชเสด็จมา เฝ้าปฏิบัติด้วยไม้งดงาม ภิกขุพากันสรเสริญฤทธาท้าวสักกเทวราชทำ เช่นนั้น สมเด็จพระศากตรทรงทราบแล้วตรัสว่า ข้อนั้นไม่อัศจรรย์ เพราะเรามีอุปกรณ์แก้ว้าวสักเทวราชมาก คือให้บรรลุโสดาปัตติผล เปลี่ยนจากแก่มาเป็นหนุ่ม เมื่อท่านจะล้วงตายไปเราทำอินทาสุกขา เราก็ได้อญาตว่า :- ๑๔๗. ปุณฺณ วาสวะ ปูวะ คำก่อนท้าววาสวะ! จงถามปัญหา กะเรฉิก ยังก็ญี มนสิจูจิ. ทรงหวังอย่างใดอย่างหนึ่งไว้ในใจ ตสูสุ ตสุเสว ปุนฺฐานัส. เราจะทำที่สุดแห่งปัญหาโน้น ๆแก่ อ้า อนุต กโรมิ เต. พระองค์. ๑๔๓. มฑฺ ฆ ๖/๑๓๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More