ความลึกซึ้งแห่งปฐมฺมน ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 5
หน้าที่ 5 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับปฐมฺมนในพระพุทธศาสนา แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะหลัก ได้แก่ ความหมดจดที่เป็นเบื้องต้น, ความเพิ่มเติมอุปกาเป็นท่ามกลาง, และความผ่องใสเป็นที่สุดแห่งปฐมฺมน โดยเน้นว่าสิ่งเหล่านี้มีความสำคัญต่อการพัฒนาจิตสู่สมาธิและความบริสุทธิ์ของจิต และยังอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างจิตกับธรรมชาติที่ทำให้เกิดความสงบซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญในพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ลักษณะของปฐมฺมน
-การดำเนินของจิต
-ความสำคัญของสมาธิ
-คุณธรรมในพระพุทธศาสนา
-ความบริสุทธิ์ของจิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค -( ปฏิปฺิ ส ๑๓/๒๕๒/๓ บาลีในสัตย์เป็นที่เปิดเผยลักษณะ ๑๐ นั้น ดังนี้ : อะไรเป็นเบื้องต้น อะไรเป็นท่ามกลาง อะไรเป็นที่สุดแห่งปฐมฺมน ? ความหมดจดแห่งปฐมฺมนเป็นอย่างงั้ น ความเพิ่มเติมเป็นอุปกา เป็น ท่ามกลาง ความผ่องใส เป็นที่ที่สุดแห่งปฐมฺมน. ความหมดจดแห่งปฐมฺมนเป็นเบื้องต้นแห่งปฐมฺมน, เบื้องต้น มีกลักษณะเป็นเท่าไร ? เบื้องต้นมีกลักษณะ ๓. ธรรมใดเป็นอันตราย ของจิตนัน จิตย่อมหมดจดจากธรรมนัน จิตย่อมดำเนินไปสู่สมาธิ อันเป็นท่ามกลาง เพราะค่าที่เป็นธรรมชาตหมดจด จิตแผนไปใน สมาธิณมิต (ซึ่งเป็นโจรแห่งอปนฺนา) นั้น เพราะความเป็นธรรมชาต ดำเนินไปแล้ว. จิตหมดจดจากธรรมที่เป็นอันตราย ๑ จิตดำเนินไปสู่ สมาธิณมิตอันเป็นท่ามกลาง เพราะค่าที่เป็นธรรมชาตหมดจด ๑ จิต แผนไปในสมาธิณมิตนั้น เพราะเป็นธรรมชาติดำเนินไป ๑ เป็นปฏิปก วิสุทธิซึ่งเป็นเบื้องต้นแห่งปฐมฺมน; เบื้องต้นมีกลักษณะ ๓ เหล่านี้. เพราะเหตุนั้น ปฐมฺมนาทําลักษณ ว่า ' เป็นคุณชาตงามในเบื้องต้น และึงพร้อมด้วยลักษณะ ๓.' ความเพิ่มเติมอุปกา เป็นท่ามกลางแห่งปฐมฺมน, ท่ามกลาง มีกลักษณะเท่าไร ? ท่ามกลางมีกลักษณะ ๓. จิตหมายถึงอ่อนเพลีย ยติดำเนินถึงความสงบ ย่อมเพลีย ยติปรากฏด้วยอารมณ์อันเดีย ย่อมเพลีย. จิตหมดจดถึงความสงบยติปรากฏยติความสงบเพลีย ๑ จิตปรากฏด้วยอารมณ์เดียวเท่านั้น ๑ เป็นความเพิ่มเติมอุปกา ซึ่งเป็นท่ามกลางแห่งปฐมฺมน; ท่ามกลางมีกลักษณะ ๓ เหล่านี้. ๑. ปฏิ ข. ๑๓/๒๕๒-๓.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More