ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค(ค) - ปฐมสง์ปาสาทิกา๘๐
ว่าไม่ใช่วัตถุทน (ความเพลิดเพลิน) ด้วยนิพพิทานปุัสสนา
(ความพิจารณาเห็นความเบื่อหน่าย) จากจะ (ความกำหนด) ด้วย
วิญญาณุปัสสนา (ความพิจารณาเห็นธรรมเครื่องคลายกำหนด)
จากสมุทัย (ต้นเหตุที่ยังทุกข์ให้เกิด) ด้วยนิรยาณุปัสสนา (ความ
พิจารณาเห็นธรรมเป็นเครื่องดับ) จากอานนท์ (ความยึดถือ) ด้วย
ปฏิสนธิคานุปัสสนา (ความพิจารณาเห็นธรรมเป็นเครื่องสะเด็นซึ่ง
อุปโภ) หายไปเข้าและหายใจออกอยู่ เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงตรัสว่า "ยอมสำเหนียกว่า เรากำล้อจิตมาถเข้าหาใจออก."น
ฉุกเฉินนี้ บันฑิตพึงบอกว่า พระผู้มีพระภาคตรัสด้วยอำนาจแห่ง
จิตตนปัสสนาอย่างนี้.
ส่วนในฉากกที่ ๔ มีนิพนธ์ดังนี้:- ในบทว่า "อนิจจานุปัสสติ"
นี้ พึงทราบ อนิจจัง (ของไม่เที่ยง) พึงทราบ อนิจจา (ความ
เป็นของไม่เที่ยง) พึงทราบ อนิจจานุปัสสนา (การพิจารณาเห็น
ของไม่เที่ยง) พึงทราบ อนิจจานุปัสสี (ผู้พิจารณาเห็นของไม่เที่ยง)
เสียด่อน.
ในลักษณะ ๔ อย่าง มื้อฉันจึงเป็นต้นนั้น ที่ชื่อว่า อนิจจัง
ได้แก่ เบญจขันธ์, เพราะเหตุไร ? เพราะเหตุว่า เบญจขันธ์มีความ
เกิดขึ้น มีความเสื่อมไป และมีความเป็นไปโดยประกอบอื่น.
ที่ชื่อว่า อนิจจา ได้แก่ ข้อที่เบญจขันธ์เหล่านั้นมีความ
เกิดขึ้น มีความเสื่อมไป และมีความเป็นไปโดยอรางอื่น หรือมีแล้ว
กลับไม่มี อธิบายว่า "เบญจขันธ์เหล่านี้ เกิดขึ้นแล้ว ไม่ได้อยู่
โดยอาการนั้นนั้นแล แตกดับเพราะความแตกดับไปชั่วนะ."