การวิเคราะห์กรรมและความผิดที่หมายในพระธรรม ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 92
หน้าที่ 92 / 217

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้จะพูดถึงความผูกพันทางกรรมที่เกี่ยวข้องกับภิกษุที่สั่งทำกรรมและการวิเคราะห์ความผิดที่หมาย โดยอธิบายถึงวิธีการที่ภิกษุสามารถมีความผิดหรือไม่ผิดในทางกรรมตามคำสั่งที่ได้รับและผลที่เกิดขึ้นจริงจากการทำตามคำสั่งนั้น ทั้งนี้ รวมถึงการแยกแยะความแตกต่างระหว่างกรรมของผู้ส่งและผู้รับคำสั่ง และการตีความในเรื่องของวัตถุที่ถูกทำร้ายตามคำสั่ง ซึ่งจะมีความแตกต่างในการลงโทษสำหรับผู้ที่สั่งและผู้ที่ปฏิบัติตามคำสั่ง วิเคราะห์ในเชิงลึกเกี่ยวกับความหมายของที่หมายและกรอบเวลาที่กำหนดทั้งในแง่ของกรรมที่เกิดขึ้นและความรับผิดชอบที่ตามมา.

หัวข้อประเด็น

-กรรมและอธรรม
-ภิกษุและคำสั่ง
-ความผิดที่หมาย
-วัตถุในกรรม
-การตีความกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ค) - ปฐมสมันตปสาทิกาเล ๓ - หน้าที่ 91 [ อธิบายวัตถุที่จะพิฆฤฏงา ] ก็ ถ้าหากว่า ภิกษุผู้รับสั่งทำไว้รุกผิดพลาดไป ไฟลไปมณฑนอื่น จากบกดที่ผู้ส่ง ส่งให้ม่า หรือถูกว่า " ท่านองค์ประหารข้างหน้าม่า ให้ตาย " ไฟลไปประหารข้างหลัง หรือข้าง ๆ หรือทีอวะแห่งใด แห่งหนึ่งให้ตายไป ข้อผูกพันทางกรรมอธรรมไม่มีแก่ภิกษุผู้ส่ง ข้อผูกพัน ทางกรรม ย่อมมีแก่ภิกษุรับสั่งเท่านั้น อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุรับส่ง ไม่ทำวัตถุให้พลาดไป ผู้มั้นนัตตามที่ส่งไว้ ข้อผูกพันทางกรรมย่อม มีแก่เธอทั้ง ๒ รูป คือ แก่ผู้ส่งในขณะสั่ง ผู้รับสั่งในขณะประหาร. กินเรื่องวัตถุนี้ ความแปลกกันแห่งกรรมและความแปลกกันแห่งอธิติ ย่อมมี เพราะความแปลกกันแห่งวัตถุ บันติสิติงทราบความถูกที่หมาย และผิดที่หมาย ในวัตถุอย่างนี้ก่อน.. [ อธิบายภิกษุที่สั่งให้ทำกรรม ] ส่วนในกาล มีย้อนฉอยดังนี้ :- ภิกษุรูปใด ได้รับคำสั่งว่า " ท่าน จงฆ่าให้ตายในเวลาเช้า " ม่ำก่าหนว่า " วันนี้ หรือพรุ่งvaluers รับสั่งนั้น ม่ำขาดตายเวลาเช้า ในกาลใดกาลหนึ่ง ความผิดที่หมายย่อม ไม่มี ส่วนภิกษุรูปใด ได้รับสั่งว่า " ท่านจงฆ่าให้ตายในเวลาเช้าวันนี้, " ภิกษุรับสั่งนั้น ม่ำขาตายในเวลาที่งว น หรือเวลาเย็น หรือตอนเช้า พรุ่งนี้ ย่อมผิดที่หมาย ; สำหรับภิกษุผู้สั่ง ไม่มีความผูกพันทางกรรม. แม้ในเมื่อภิกษุพยายามจะฆ่าให้ตายในเวลาเช้า แต่กลายเป็นเที่ยงวันไป ก็มีบ่นเหมือนกัน บันติ ติด พึ่งราดถูกที่หมายและผิดที่หมาย ในประเภท แห่งกาลทั้งปวงโดยยืนยัด.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More