ปฐมสมัณปาสกานคาแปล ภาค ๑ หน้า ที่ 153 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 154
หน้าที่ 154 / 217

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้มีการอธิบายเกี่ยวกับบทเหล็านั้น ซึ่งรวมถึงการพูดถึงโจรภายในและภายนอกในพระศาสนา โดยพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงความคิดเกี่ยวกับโจร ๕ จำพวก นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงความหมายของคำว่า 'ปฏิกุญฺญํ' ในบริบทของภิกษุ เพื่อเน้นว่าท่านต้องมีความปรารถนาในพื้นฐานแม้ในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน. การวิเคราะห์นี้จึงมีความสำคัญต่อการเข้าใจหลักธรรมในพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การอธิบายบทเหล็านั้น
-ความหมายของโจรในพระศาสนา
-บทบาทของภิกษุในสังคม
-แนวทางทางธรรมในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมัณปาสกานคาแปล ภาค ๑ หน้า ที่ 153 บรรดาบทเหล็านั้น สองบทว่า สนฺโต สิวิชชมามา มีคำอธิบายว่า " มีอยู่ และหาได้อยู่." บทว่า อิฐ คือ ในสัตว์โลกนี้. สองบทว่า เอว โทมั มีว่า ความปรารถนาในส่วนเบื้องต้น ย่อมเกิดขึ้นอย่างนี้ ศัพท์ว่า " สุ" ในว่า " ทภสุ นามํ" นี้ เป็นนิบาต. ความว่า "ชื่อ เมื่อไรหนอ?" คำว่า โส อโยน สมนเยน ว่าา มหาโจนั้น ครับคิดใน ส่วนเบื้องต้นอย่างนั้นแล้ว ก็เพิ่มเติมบริษัทย์ขึ้นโดยลำดับ กระทำกรรมมิ อาเทยนี่คือ กรรมเป็นเหตุประทุษร้ายคนเดินทาง ปล้นสะดมชาวบ้าน ที่อยู่ชายแดน เป็นบุรุษผู้มีความเจริญไพบูลย์ขึ้นแล้ว ทำบ้านมิลให้เป็น บ้านบ้าง ทำชนนามให้เป็นชนนามบ้าง ต่างๆ ให้ผู้อื่นา ตลอด ให้ผู้อื่นตัด เผาผลาญเอง ให้ผู้อื่นเผาผลาญ. [ มหาโจในพระศาสนาเทียวยึดสักบานน้อยใหญ่ ] พระผู้มีพระภาคเจ้า ครับทรงแสดงโจรภายในออกอย่างนี้ จึง ศรัสพระคำรำว่า " เอวาม โข" เป็นนั้น เพื่อชวนแสดงมาโจร ๕ จำพวกในพระศาสนา ผู้เป็นกับโจรภายนอกนั้น. บรรดาบทเหล็านั้น บทว่า ปฏิกุญฺญํ ความว่า ในอื่น ๆ ภิกษุต้องปราศรผ มือลาดแล้ว ท่านเรียกว่า " ภิกษุลาวตราม." ส่วนในสิกขาบทนี้ ภิกษุผู้มีได้ต้องปราศรผ แต่ตังอยู่ในจิอจาร เพื่อย้ายสิกขาบทน้อยใหญ่ ท่านประสงค์เอาว่า " ภิกษุลาวตราม." ความปรารถนาในส่วนเบื้องต้น ย่อมเกิดขึ้นแม้แก่มิภิกษุลาวตรามนั้น เหมือน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More