ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปฐมนิเทศคาปสาทกาแปล ภาค ๑ หน้าที่ 182
คำว่า ปุพพเภศสุด โชติ ความว่า ในส่วนเบื้องต้นที่เดียว บุคคลนั้น ย่อมมีความคิดอย่างนี้ว่า "เราขกล่าวเท่านั้น"
คำว่า ภณุตสุด โชติ ความว่า บุคคลนั้น กำลังกล่าว ย่อมมีความรู้ อย่างนี้ว่า "เรากำลังกล่าวเท่านั้น"
คำว่า ภณิตสุด โชติ ความว่า เมื่อกล่าวคำที่แล้วแล้ว บุคคลนั้น ย่อมมีความรู้ อย่างนี้ว่า "เรากล่าวเท่านั้น" อธิบายว่า เมื่อเธอกล่าวคำที่พึ่งกล่าวนั้นแล้ว ย่อมมีความรู้ อย่างนี้
อีกอย่างหนึ่ง บทว่า ภณุตสุด ความว่า ความรู้ อย่างนั้น ย่อม มีแก่บุคคลนั้น ผู้มีกคำพูดขึ้นพูดแล้ว คือคำพูดสำเร็จแล้ว ในองค์กรแห่งสัมปชานูปวาทนี้ ท่านแสดงอรรคไว้ดังว่า "ภิกขุใด แม้นเบื้องต้น ก็รู้อย่างนี้, แม้กลังกล่าว ก็รู้ยู่, แม้นภายหลัง ก็รู้ว่า 'เรากล่าว เที้อนแล้ว,’ ภิกษุนี้ เมื่อล่าวว่า 'เรามาถูกปฏูม่าน' ดังนี้ ย่อมต้องปรารีช."
แม่ท่านแสดงอรรคไว้แล้วก็จริง, ถึงอย่างนั้น ในองค์กรแห่งสัมปชานูปวาทนี้ ยังมีความแปลกกันดังนี้ :-
มีคำถามก่อนว่า "'เมื่อถึงว่า 'เราถูกพูดมา' มิอู่ ส่วนภายหลังว่า 'เราพูดมาแล้ว' ไม่มี, จริงอยู่ คนบางคนย่อมมีคำพูด ที่พูดออกไปที่เดียว, ภิกษุนี้ จะเป็นปราชญ์หรือไม่เป็น' ?
คำถามนั้น ท่านแก้ไขแล้วในอรรถกถาทั้งหลาย อย่างนี้ว่า ภิกษุ คิดว่า 'เราจักพูดทีเดียว' ในชนต้น, และเมื่อพูดแล้วก็ว่่า 'เรากำลังพูดเท่า’ การไม่รู้ว่า 'เราพูดเท่านั้น' ในชนหลัง ไม่อาจจะไม่มี, ถึง หากจะไม่มี ก็เป็นปราชญ์เหมือนกัน. เพราะ ๒ องค์เบื้องต้นนั้นแล เป็นสำคัญ. แม้ภิกษุใด ในชนต้น ไม่มีความพูดว่า "เรากล่าวเท่านั้น"