การปรุงสมุนไพรสากกะเบา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 50
หน้าที่ 50 / 217

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการใช้ข้ออุปมาในพระธรรม เพื่อสื่อถึงความสำคัญของการมีสติในการฝึกสมาธิ เปรียบเทียบกับคนอ้อยที่ต้องรักษาสมดุลในขณะผ่อนคลายและระมัดระวังลมหายใจ ซึ่งการปฏิบัตินี้จะช่วยให้เกิดการตั้งจิตแน่วแน่และรักษาความสงบภายในใจ ข้อมูลสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การใช้สมุนไพร
-อุปมาในพระธรรม
-การฝึกสมาธิ
-การมีสติ
-รักษาจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ค) - ปรุงสมุนไพรสากกะเบา ค๓ - หน้า 49 ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถา และด้วยข้ออุปมาเหมือนเลื่อที่ท่านพระธรรม- เสนาบดีสาริสุขกล่าวไว้ในปฐมภาค [ข้ออุปมาเหมือนคนอ้อยโส่งช้า] บรรดาข้ออุปมา ๑ อย่างนั้น ข้ออุปมาเหมือนคนอ้อยโส่งช้า มีดังต่อไปนี้ :- เปรียบเหมือนคนอ้อยไกลชิงชา ให้เก่ามาดและบุตร ผู้อื่นชิงช้าอยู่ แล้วนั่งอยู่ที่โคนเสาชิงช้าในที่นั้นนั่นเอง เมื่อกระดาน ชิงช้าไดวงามและไกลไปอยู่โดดลำดับ ยอมเห็นทีสุดทั้งสองข้างและตรง กลาง แต่ได้ขวนขวายเพื่อจะบดให้สุดทั้งสองข้างและตรงกลาง แม้ ฉันใด, ภูกนีนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ยิ่งที่ใกล้โคนเสาซ้อนเข้าไปปลูกไว้ด้วย อำนาจสติแล้วโง่จ้าเชิอลมหายใจเข้าและลมหายใจออก นั่งอยู่ด้วยสติ ในนิสิตนั้นนั่นเอง ส่งสติไปตามเบื้องต้น ท่านกลางและที่สุดแห่ง ลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ในฐานที่สมควรแล้ว ซึ่งพัดผ่านมา และผ่านไปอยู่โดยลำดับ และตั้งจิตแน่วไว้ในมดินนั้น และไม่ขวนขวาย เพื่อจะและคุมเหลาเหล่านั้น นี่เป็นข้ออุปมาเหมือนคนอ้อย. [ข้ออุปมาเหมือนคนรักษาประตู] ส่วนข้ออุปมาเหมือนคนรักษาประตูดังต่อไปนี้ :- คนรักษาประตู จะไม่สอบสวนบรรดาทั้งหลายทั้งภายในและภายนอกพระนครว่า “ท่าน เป็นใคร ? มาแต่ไหน ? จะไปไหน ? หรือว่า ในเมืองท่านมี อะไร ?” ความจริง พวกมนุษย์เดินไปทั้งภายในและภายนอกพระ นครเหล่านั้นไม่ใช่หน้าที่ของคนรักษาประตูนั้น แต่เข้าเมืองสอบสวน เฉพาะคนผู้มาถึงประตูแล้ว ๆ เท่านั้น แม้ฉันใด, ลมหายใจเข้าไปข้างใน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More