ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค (ค) - ปฐมสมัยบำาสักกะเกล่า มาต ๓ - หน้า ๙๐
[ฐานะ ๕ และ ๖ พร้อมทั้งอรรถาธิบาย]
ในอนัตติกัปประโยคนัน :-
ผู้พิจารณาที่ลาด พิสูจน์สวนฐานะ ๕ ประการ คือ วัตถุ กาล โอกาส อายุ และอริยบถ แล้วพิสูจน์ว่าสูงคดี
อีกนัยหนึ่ง :-
เหตุทำให้การสั่งแน่นอน (สำเร็จได้) มี ๖ อย่างนี้ คือ วัตถุ กาล โอกาส อายุ อริยบถ และอริยผล
บรรดาฐานะมิวิตัปเป็นต้นนั้น ฐานว่า " วัตถุ " ได้แก้ สัตว์ ที่จะพิสูจน์ท่าให้ตาย
ฐานว่า " กาล " ได้แก้ กาลมีภาคเริ่มและเย็นเป็นต้น และ กาลมีวัยเป็นหนุ่มสาวมีเร่งแรงและมีความเพรียงเป็นต้น
ฐานว่า " โอกาส " ได้แก้ สถานที่ มีอาทิอย่างนี้ คือ บ้าน ป่า ประตูเรือน ท่ามกลางเรือน ถนน รถ หรือทาง ๓ แพร่ง
ฐานว่า " อายุ " ได้แก้ อายุบ มืออายอย่างนี้ คือ คาม ลูกศร หรืออก.
ฐานว่า " อริยบถ " ได้แก้ อริยาบถ มืออายอย่างนี้ คือ การเดิน หรือยืน ของผู้ที่จะถูกฆ่าให้ตาย
ฐานว่า " อริยพิเศษ " ได้แก้ กิริยาที่ทำ มีอายอย่างนี้ คือ แทง ตัด ท่อลาย ลกหนังศีรระทำให้คล่องเหมือนสง่ำ.
๑. ความหมายของคำนี้ ในสารัตถีปีน ๒/๔๕๕ อธิบายไว้ว่า ต้องตัดหนังออก (จากศีรษะ) กำหนดเพียงหมวกู และหมุนคอ แล้วเอาก้อนกรวดจับจะโยกศีรษะให้มีสีขาวเหมือนสง่ำ.