ปฐมกับปฐมจะคาเปล ภาค ๓ - หน้า 74 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 75
หน้าที่ 75 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับการอธิบายความรู้และการตระหนักรู้ของภิกษุ รวมถึงการนำเสนอความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตและการตระหนักถึงธรรมชาติของสัตว์ในครรภ์ การอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่า 'สงจิตจ' และอำนาจของจิตที่ไม่มีความสงสัย เป็นการชี้ให้เห็นถึงการแสวงหาความรู้และความเข้าใจในชีวิต และการดำรงอยู่ของมนุษย์ภายใต้แนวคิดพุทธศาสนา เนื้อหายังมีการกล่าวถึงความพยายามในการฝ่าฟันปัญหาต่างๆ ด้วยความเพียรและความตั้งใจในการพัฒนาจิต.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสงจิตจ
-การรับรู้ของภิกษุ
-ปรัชญาแห่งการมีชีวิต
-การพัฒนาและความเข้าใจจิต
-อัภภาพของมนุษย์ในบริบททางพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(คำ) - ปฐมกับปฐมจะคาเปล ภาค ๓ - หน้า 74 ปลุง, ภิกษุผู้นั้นเป็นผู้อยู่ คือลู่วพร้อมอยู่, และการปลุงนั้นของภิกษุนั้น เป็นความแกล้ง คือฝ่าฝืนละเมิด; เพราะเหตุนี้ เพื่อจะไม่ทำความ อึดอัดในเพญชนะ แสดงแต่ความเท่านั้น ท่านพระอุกาลิเกระ จึงกล่าวว่าบทว่ากกชนะแห่งว่า " สงจิตจ" นั้น อย่างนี้ว่า " รู้อยู่ รู้พร้อมอยู่ แกล้ง คือฝ่าฝืนละเมิด. " บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ชนฺโต คือ รู้ว่า "สัตว์มิปปราณ." บทว่า สงชานนฺโโต คือ รู้พร้อมอยู่ว่า " เราจะปลดเสียจากชีวิต. " อธิบายว่า " รู้อยู่พร้อมกับการรู้ว่า สัตว์มิปปราณนั้นเป็นเอง." บทว่า เจจฺจ คือ ความว่า จงใจ คือปิฎฺกิโล ด้วยอำนาจเจตนาเองน่าจะฆ่า. บทว่า อจิติตฺตวา ความว่า ส่งจิตที่หมดความสงสัยไป อธิบาย ด้วยอำนาจความพยายาม. ด้วยบทว่า " วิตกฤก๺โม" มีคำอธิบายที่ท่านกล่าวไว้ว่า " ความ ล่วงละเมิดแห่งจิตหรือบุคคล ซึ่งเป็นไปแล้วอย่างนั้น นี้ เป็นความ อธิบายสุดยอดแห่ง สงจิตจ ศัพท." [ อธิบายสมุทิตาของมนุษย์ผู้รื่นรมลุสังสารร ฯ ] บัดนี้ ท่านพระอุบาลิเกระกล่าวคำเป็นต้นว่า " ชื่อว่ากามมนุษย์ " เพื่อจะแสดงอัภภาพของมนุษย์ ที่พระองค์ภากเจ้าตรัสไว้ ในคำว่า " ปลงกายมนุษย์เสียจากความเป็นอยู่" นี้ ตั้งแต่แรก. บรรดาบทเหล่านั้น หลากว่ว่า "( ปฐมิตด) อันใด (เกิดขึ้น แล้ว) ในท้องแห่งมารดา" ท่านพระอุบาลิเกระกล่าวเพื่อแสดงอัภภาพ นั้นละเอียดที่สุด ด้วยอำนาจแห่งเหล่าสัตว์ผู้นอนในครรภ์. ปฏิสนธิจิต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More