พระเกษรและเรื่องช้างลงน้ำ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 211
หน้าที่ 211 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการพูดคุยกับพระราชาและเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับช้างลงน้ำ รวมถึงความเข้าใจในวิถีชีวิตและธรรมชาติที่แสดงถึงภูมิปัญญาในยุคปฐมสมันต์ และการมองเห็นในแง่มุมที่ลึกซึ้งของชีวิต โดยพระเกษรได้เรียกลักษณะของชีวิถีในการเคารพผู้มีความรู้และความสามารถ.

หัวข้อประเด็น

-พระราชาและผู้มีอำนาจ
-การติดต่อสื่อสารในยุคปฐมสมันต์
-ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ
-พฤติกรรมช้างในธรรมชาติ
-การสื่อความหมายในศิลปกรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมันต์ป่าสกากาเปล ภาค ๑ - หน้ที่ 210 ข้ออ้า ราชา อายุโส ลิขวิธี กล่าวว่าจะ ได้ยินว่า พระเกษร นั่งในที่พักกลางวันและที่พักกลางคืนของตนเห็นพวกเจ้านิจจิว ผู้มีฝีมือ ชำนาญ ยิ่งได้แน่นยำ เมื่อคำนี้ว่า " ก็พระราชทรงส่งสารมพร้อมกับ พวกเจ้าจินจิวเหล่านั้น " ได้เห็นพระราชาทรงปราชญ์ หนีไปอยู่ ด้วย ทิพย์จักษุ ลำดับนั้น พระเกษรจึงเรียกภิษุทั้งหลายมากว่า " ผู้มีอายุ ทั้งหลาย ! พระราชผู้เป็นอุปถัมภ์ของพวกท่าน ทรงปราชัยพวกเจ้า จินจิวแล้ว " คำว่า สญฏิ ภูฏิไว โมคคลอาณ อาท กล่าวว่า โมคคลลานะ เมื่อคำนี้ในเวลาพระราชาทรงปราชย์ กล่าวสิ่งที่เห็นชื่อว่างกล่าว จริง [เรื่องช้างลงน้ำ] ในเรื่องช้างลงน้ำ พึงทราบวินิจฉัยดังนี้ - บอกว่า สุปลินกาย คือ แม่น้ำที่มีชื่ออย่างนี้ บอกว่า อนเนช สมัธ ได้แก่ จุดฤดูนสมบัติ อันเป็นอนุษยะ คือไม่หวั่นไหว วันจากความคันรนทางกายและวาจา. บอกว่า นาคน่า แปลว่า แห่งช้างทั้งหลาย. ข้อว่า โอคาน์ อุตตรนุตาน กล่าวว่า ลงน้ำแล้ว ขั้นอีก ได้ยินว่า ช้างเหล่านี้ลงน้าลึกแล้ว อาบและดื่มในน้ำนั้น เองวงดูดน้ำแล้วพ่น ใส่กันและกันจึงขึ้นไป มีคำอธิบายว่า " แห่งช้างเหล่านั้น ตัวลงน้ำแล้ว ขึ้นอยู่ดังนี้ " ข้อว่า โกญจ์ กริญตนต์ ความว่า ยืนอยู่ริมฝั่งแม่น้ำาดงวง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More