ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ปฐมมันตปสากทานแปล ภาค ๑ หน้า ที่ 166
คือ ท่านผู้ได้ฌาน และพระอรหันต์หลาย
บทว่า อาตุปนิกาย มอร์ธวิเคราะห์ว่า วิญญาณ้อมน้อมอุตร-
มนุษยธรรมนันข้ามในบาต น หรือว่า ย่อมอ้อมตนเข้าไปในอุตรินิมุสธรรม
นั้น; เพราะเหตุนี้น อุตรินิมุสธรรมนัน จึงชื่อว่า อาตุปนิกาย. (ภูก
กล่าวอวด) อุตรินิมุสธรรมนัน เป็นที่อ้อมเข้าไปในบาต หรือว่าเป็น
ที่อ้อมเข้าไปหา. เชื่อมความว่า "ภิญญาทำอย่างนี้" กล่าวอวด แต่ใน
วาระแจกบ พ เพราะเหตุที่ท่านพระอุบาลิว่ารธรรมหลายประกา มีมาณ
เป็นต้นไว อย่างนั้นว่า "อานน วิโมกข์ สมาธิ สมาธิ ญาณทัสสนะ
ฯลฯ (การยังมรรคให้เจริญ การทำให้แจ้งซึ่งผล การละกิเลส ความ
ที่จิตปราศจากนิวรณ์) ความยินดีงิ่งในเรือนว่างเปล่า ชื่ออุตรินิมุส-
ธรรม" ดังนี้; เพราะฉะนั้น เมื่อท่านจะแสดงความที่อุตรินิมุสธรรมนัน
เป็นธรรมที่อ้อมเข้าไปในบาต ด้วยอานาจแห่งธรรมเหล่านี้ทั้งหมด จึง
ได้กระทำเทคนิคเป็นพูขวนจะว่า "ภิญญาอ้อมกุศลธรรมเหล่านี้เข้า
ในบาต" ในบรรการอ้อม ๒ อย่างนั้น เมื่อภิญญอวดว่า "ธรรม
เหล่านี้ ย่อมปรากฏในบาต้า" พึงทราบว่า "ชื่อว่ามน (ธรรม
เหล่านี้น้น) เขาเข้าในบาต" เมืออวดว่า "ข้าพเจ้า ย่อมปรากฏในธรรม
เหล่านี้ พึงทราบว่า "ชื่อว่ามนเข้าไปในธรรมเหล่าน้น."
พึงทราบความเชื่อมอรรถแห่งบาปในคำว่า ออกมยนิยตทัสสูฏ น
นี้ อย่างนี้ คือ "ปัญญาที่เป็นโลภะและโลภุตะ ชื่อว่า อาญา
เพราะอรรถคำว่า, ชื่อว่า ทัสสนะ เพราะอรรถว่า เห็น เพราะกระทำ
ซึ่งธรรมให้เป็นประดุจเห็นด้วยอัตผะ; เพราะฉะนั้น จึ่งชื่อว่า อาญาทัสสนะ.
ญาณทัสสนะ อย่างประเสริฐ คือ อย่างบริสุทธิ์ อย่างสูงสุด; เพราะฉะนั้น