ปฐมสมันตปสาทิกาในคา ๓ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 65
หน้าที่ 65 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาสำหรับการเข้าใจปีติในทางพระพุทธศาสนา โดยชัยนาพย์ได้อธิบายถึงปีติเป็นอันภิญญูรู้แจ้งจากสองสาเหตุคือ อาธิยาและความไม่งามาย ผ่านการยอมรับในธรรมชาติและความมีสติของภิกษุในขณะเข้ามาบัติและออกจากมาบัติ. ข้อดีมีการยกตัวอย่างคำสอนจากพระธรรมเสนาบดีที่ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของสติและอำนาจในการเข้าใจเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

-การอธิบายปีติ
-การรู้แจ้งโดยอาธิยา
-การรู้แจ้งโดยความไม่งามาย
-บทบาทของสติในพระพุทธศาสนา
-ธรรมชาติองค์ภิญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ตอน) - ปฐมสมันตปสาทิกาในคา ๓ - หน้า ๖๔ และสุขลานนี ปีติ ย่อมเป็นอันภิญญูรู้แจ้งแล้วโดยอาธิการ ๒ อย่าง คือ โดยอาธิยา และโดยความไม่งามาย. ถามว่า " ปีติ ย่อมเป็นอันภิญญูรู้แจ้งแล้ว โดยอาธิยา อย่างไร ? " แก้ว่า " ภิกษุย่อมเข้าใจมา ทั้ง ๒ (ปฐมสมันตและอธิยา) ซึ่งมีปีติ ปีติชื่อว่าเป็นอันภิญญูรู้แจ้งแล้ว โดยอาธิยา ด้วยการได้มาในขณะเข้ามาบัติ เพราะอารมณ์เป็นธรรมชาติองค์ภิญญานั้นแจ้งแล้ว. " ถามว่า " ปีติ ย่อมเป็นอันภิญญูรู้แจ้งแล้วโดยความไม่งามาย อย่างไร ? " แก้ว่า " ภิกษุนั้นเข้าามาทั้ง ๒ ซึ่งมีปีติ ออกจากมาบัติแล้ว ยอมพิจารณา ปีติที่สับสนวุ่นวายด้วยความสิ้น ความเสื่อม ปีติ ชื่อว่าเป็นอันภิญญูเป็นรู้แจ้งแล้ว โดยความไม่งามมาย เพราะเทวดลด ลักษณะ ในขณะแห่งวิสาสนะ. ข้อดี สงสัยดังคำที่ท่านพระธรรมเสนาบดี สารูตรกล่าวไว้ในปฏิสัมภิทา ว่า เมื่อภิกษุรู้ความที่มีอยู่ความคั่งค้างเดียว ไม่ฟังซ่าน ด้วยอำนาจมาหาใจเข้าเข้า สติอ่อนตั้งมั่น ปีตินี้ ย่อม เป็นอันเธอนรู้แจ้งแล้ว ด้วยสติ นั้น เมื่อภิกษุรู้ความ ที่ติดอํารามิเดียว ไม่ฟังซ่าน ด้วยอำนาจมาหายใจออกอั้น สติอ่อนตั้งมั่น ปีนี้ ย่อมเป็นอันเธอนรู้แจ้งแล้ว ด้วยสตินั้น ด้วยญาณนั้น , เมื่อภิกษุรู้ความที่ติดอํารามิเดียว ไม่ฟังซ่าน ด้วยอำนาจมาหายใจเข้าออกอั้น สติอ่อนตั้งมั่น ปีนี้ ย่อมเป็นอันเธอนรู้แจ้งแล้ว ด้วยสติ นั้น ด้วยญาณนั้น , เมื่อภิกษุรู้ความที่ติดอํารามิเดียว ไม่ฟังซ่าน ด้วยอำนาจมาหายใจเข้าออกอั้น สติอ่อนตั้งมั่น ปีนี้ ย่อมเป็นอันเธอนรู้แจ้งแล้ว"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More