บทเรียนเกี่ยวกับปราชิกในวิปัสสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 178
หน้าที่ 178 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ของวิปัสสนาและการอธิบายถึงสิ่งที่ถือเป็นปราชิกในทางพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติและความรู้เรื่องอภิธรรมที่ถูกค้านจากผู้ที่ไม่ชำนาญในเรื่องนี้ พร้อมการยกตัวอย่างคำกล่าวที่พบในการสอน.

หัวข้อประเด็น

-วิปัสสนา
-ปราชิก
-อภิธรรม
-ภูญู
-การปฏิบัติทางพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมสมันดาปสากาเปล ภาค ๑ - หน้า ที่ 177 เนื่องด้วยท่านว่า "ข้าพเจ้ายินดีเฉพาะในสุขภาวะ ด้วยนามชื่อนี้" ภิญูนี้แหละ พึงทราบว่า "เป็นปราชิก." ก็ บรรดาวิชา ๘ ที่ครูสอนไว้ในพระสูตรหลาย มีองค์พุทธสูตรเป็นต้น วิชา ๕ เหล่าใด ต่างโดยวิบาสัญญา มโนมิตวิธี ทิพพโสต และเจตปริยาณ ไม่ได้มาแล้วในภาฑะชะ แห่งว่่า "อนาถ" นี้, บรรดาวิชา ๕ เหล่านั้น เฉพาะวิปัสสนาอย่างเดียว ย่อมไม่เป็นวัตถุแห่งปราชิก วิชาที่เหลือ พึงทราบว่า เป็นวัตถุแห่งปราชิก. เพราะเหตุนี้ เมื่อภูกฎว่าว่า "ข้าพเจ้า เป็นผู้มาปฏิบัติได้ วิปัสสนา" ก็ดี ว่า "ข้าพเจ้าเป็นผู้มาปฏิบัติได้วิวิสสนา" ก็ดี ยังไม่เป็นปราชิก. แต่พระสูตรเทวะกล่าวว่า "วิชา ๔ แม้นอกจากนี้ ไม่เสี่ยงเนื่องด้วยญาณ ข้อมไม่เป็นวัตถุแห่งปราชิก; เพราะเหตุนี้ จึงไม่เป็นปราชิกแม้ก็ภูผู้กล่ายาวื่อว่า 'ข้าพเจ้าเป็นผู้มาปฏิบัติได้โม่น ย ข้าพเจ้าเป็นผู้มาปฏิบัติได้ดีวิธี, ข้าพเจ้าเป็นผู้มาปฏิบัติได้ทิพพโสตรฯ ข้าพเจ้าเป็นผู้มาปฏิบัติได้โดปริยะ.' คำนี้ ถูกพวกอันตวาสิกของท่าน นั่นนเองค้านแล้วว่า "ท่านอาจารย์ ไม่ใช่ผู้ชำนาญในอภิธรรม ย่อมไม่ทราบธรรมเป็นถ้วนนี้, ขึ้นชื่อว่าอภิญญามีจุดคุณสมบัติเป็นบาท ทั้งเป็นมหัคคธรรมด้วย ย่อมสำเร็จได้ด้วยอานนเท่านั้น; เพราะเหตุนี้ ภูญู จะกล่าวว่า 'ข้าพเจ้าเป็นผู้มาปฏิบัติได้โม่นย, หรือว่า 'ข้าพเจ้าเป็นผู้มาปฏิบัติได้โม่นอญาณ' หรือจะกล่าวโดยประกาศตามที่มุ่งจะกล่าวก็ ตามที, เธอย่อมต้องปราจิกเหมือนกัน." จริงอยู่ ในอุตตวาสิกนี้ พระนิมพานไม่ให้มาในพระบาลี แมโดยแท้, ถึงกระนั้น เมื่อภูกฎ กล่าวว่า "พระนิมพาน ข้าพเจ้าบรรลุแล้ว' หรือว่า "พระนิมพาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More