การตั้งสติและกรรมฐานในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 26
หน้าที่ 26 / 217

สรุปเนื้อหา

บทความนี้แสดงถึงการตั้งสติและกรรมฐานในพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการนั่งกรรมฐาน ซึ่งมีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของจิตใจ การนั่งตรงและมีสมาธิเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้จิตเข้าสู่สภาวะอันหนึ่งอันเดียวและไม่พอใจได้. การที่ร่างกายอยู่ในท่าที่ถูกต้องจะทำให้ไม่เกิดความหดหู่ จิตใจจึงสามารถรวมเป็นหนึ่งอยู่เสมอได้ มีการอ้างถึงคำสอนของพระธรรมเสนาบดีสารบุตรด้วย ซึ่งเน้นความสำคัญของการตั้งสติเมื่อทำกรรมฐาน

หัวข้อประเด็น

-การตั้งสติ
-กรรมฐาน
-การนั่งสมาธิ
-ความเจริญรุ่งเรือง
-พระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ความไม่ท้อแท้และไม่ท้อถอยน จิรัสฎิต ดังนี้ ภายหลัง เมื่อจะทรงแสดงภาวะแห่งการนั่ง เป็นของมันคง ข้อที่มอัศจรรย์ ปกสาขาเป็นไปสาคร และอุบายครองกำหนดขัดแผนของเธอนั้น จิรัสพระพุทธนิมิตว่า " ปลุกฎ อากิฎิวา " ดังนี้ บรรดาบทเหล่านั้น บวกว่า ปลุกฎ กิ ได้แก่ การนั่งพักข้าง ๒ โดยรอบ (คือเนืองนั่งสมาธิ) บวกว่า อากิฎิวา แปลว่า คู้เข้าไว้ ข้อว่า อุฆ กาย ปณิธาย มีความว่า ตั้งร่างกายส่วนบนให้ ตรง คือให้กระดูกสันหลัง ๑๙ ท่อน จดที่สุดต่อที่สุด จริงอยู่ เมื่อ ภูกันผู้ออกจากการอย่างนั้นแล้ว หนัง เนื้อ และเส้นเอ็น ย่อมไม่ หงักเลย เวลานั้น เวลานั้นหลาย ที่จะพึงกันนั้นแค่เธอในนะ ย เพราะ ความหดหู่แห่งเนื้อและเอ็นเหล่านั้นเป็นไปอย่างนั้นแหละ ย่อมไม่เกิดขึ้น เมื่อเวทนาหล่านั้นไม่เกิดขึ้น จิตก็ย่อมอารมณ์เป็นอันเดียว กรรมฐานไม่ตก ไป ย่อมเข้าถึงความเจริญรุ่งเรือง ข้อว่า ปรมมู อ สติ อุปจาระวา มีความว่า ตั้งสติหน้า ต่อกรรมฐาน อีกอย่างหนึ่ง ก็ในคำว่า " ปรมมู สติ อุปจาระวา " นี้ พึงเห็นใจความตามเนื้อดังที่พระธรรมเสนาบดีสารบุตรสาไว้ในปฏิ- สัมภาษณ์นั้นแล้ว อย่างนี้ว่า ศัพท์ว่า " ปรี " มีความหมายคือเอาเป็น อรรถ สะแหง " มู " มีความนำออกเป็นอรรถ สะแหงว่า " สติ ". มีความเข้าไปดังไม่เป็นอรรถ; เพราะเหตุนี้ ท่านจึงกล่าวว่า " ตั้งสติไว้ เฉพาะหน้า." ในบทว่า " ปรํมู สติ " นั้น มีความอาวุธว่า ทาสติ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More